Page 278 - Best Practice Poster 2024 (อัพเดต)
P. 278

F36


                  การใช้กล่องกันชักจึงมีสรรถนะและทักษะเพิ่มขึ้นอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ โดยพบว่า กลุ่มประชากรมีสมรรถนะ
                  เกี่ยวกับการดูแลผู้คลอดที่มีภาวะครรภ์เป็นพิษสูงกว่าก่อนเข้าร่วมกิจกรรม ซึ่งโดยมีค่าเฉลี่ยคะแนน (M=19.00,
                  SD= 1.85) สูงกว่า ก่อนเข้าร่วมกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (M= 18.12, SD= 3.38) อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ

                  (t= -1.105, p < .05)  กลุ่มประชากรมีทักษะเกี่ยวกับการดูแลผู้คลอดที่มีภาวะครรภ์เป็นพิษ สูงกว่าก่อนเข้า
                  ร่วมกิจกรรม ซึ่งโดยมีค่าเฉลี่ยคะแนน (M= 30.50, SD= 3.38) สูงกว่า ก่อนเข้าร่วมกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้
                  (M= 28.87, SD= 4.12) อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (t= -1.105 p > .05) สอดคล้องกับผลการวิจัยที่พบว่า
                  การประเมินความสามารถของตนเองเมื่อเปรียบเทียบกับการประเมินโดยผู้อื่นแล้วไม่มีความแตกต่างกัน
                  (จิตติมา จันทเวช,2542; ปราณี สงวนซื่อ,2547; เยาวดี วิบูลย์ศรี,2546) และสอดคล้องกับ Taylor

                  (2000 cited in Marquis and Huston, 2006) กล่าวว่าผู้ร่วมงานเป็นเป็นผู้ปฏิบัติงานทางคลินิกร่วมกัน
                  จึงสามารถให้การประเมินเพื่อให้โอกาสผู้ได้รับการประเมินในการพัฒนาตนเองให้มากขึ้น

                  สรุปและข้อเสนอแนะ
                         สรุปหลังการใช้กล่องกันชัก(PIH BOX) พยาบาลมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลผู้คลอดที่มีภาวะครรภ์เป็นพิษ

                  (= 5.62, SD= 0.52) สูงกว่าก่อนเข้าร่วม ( = 4.00, SD= 0.76) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t=-2.392, p<.05)
                  ส่วนสมรรถนะและทักษะก่อนและหลังใช่กล่องกันชัก (PIH BOX) ไม่แตกต่างกัน
                         ข้อเสนอแนะควรขยายระยะเวลาการศึกษาที่เหมาะสมและเพียงพอต่อการสมรรถนะและทักษะ
                  ของพยาบาลวิชาชีพ เพื่อการเปรียบเทียบผลการศึกษาได้ชัดเจนมากขึ้น
   273   274   275   276   277   278   279   280   281   282   283