Page 407 - Best Practice Poster 2024 (อัพเดต)
P. 407

K2


                  probabilities ที่ถูกประเมินโดยใช้ logistic equation เพื่อสร้าง multivariable logistic regression model

                  จากการนำตัวแปรเข้าสมการ ได้แก่ continuous age, continuous NIHSS, และ dummy variables ที่มี
                  natural coding สำหรับ CDS levels เท่ากับ 1, 2, และ 3 จากนั้นสร้าง model ที่ 2 (combined THRIVE-
                  MFP calculation) ซึ่งเป็น model ที่รวมข้อมูลจาก THRIVE score ร่วมกับ 24-hour ASPECTS และ

                  HB/RDW ratioสำหรับตัวแปรต่อเนื่อง multivariable fractional polynomials (MFP) algorithms ถูก
                  นำมาใช้เพื่อระบุ optimal fractional polynomial transformation ของแต่ละตัวแปรเพื่อ fitted ใน binary
                  logistic model ผู้วิจัยใช้ area under the receiver operating characteristic curve (AuROC) เพื่อ
                  เปรียบเทียบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญใน AuROC ของ model performance โดยใช้ method ที่
                  propose โดย DeLong และ คณะ หาก AuROC ของ combined THRIVE-MFP calculation ดีกว่า

                  THRIVE-c calculation model ผู้วิจัยจะสรุปว่า 24-hour ASPECTS และ HB/RDW สามารถเพิ่ม
                  prognostic value ได้อย่างมีนัยสำคัญ จากนั้นcombined THRIVE-MFP จะถูกสร้างเป็น prognostic
                  prediction model โดยนำเสนอด้วย logistic regression equations เพื่อประเมิน prediction of

                  probability ของการเสียชีวิตในโรงพยาบาล โดยใช้ inverse logit transformation ของ linear predictor
                                         lp
                                                 lp
                  (lp) ดังนี้: probability = e /(1 + e ), ในขณะที่ e คือ base value ของ natural logarithms
                  ผลการศึกษา
                         ผู้ป่วยทั้งหมด 345 รายที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคหลอดเลือดสมองตีบ ซึ่งได้รับการรักษาด้วยยา
                  สลายลิ่มเลือด rt-PA จากการศึกษาพบว่า มีผู้ป่วยจำนวน 65 ราย (18.8%) ที่มีการเสียชีวิตในโรงพยาบาล โดย

                  พบว่า combined THRIVE-MFP model มีอำนาจการพยากรณ์การเสียชีวิตในโรงพยาบาลสูงกว่า THRIVE-c
                  model อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (AuROC 0.980 vs. 0.876, p<0.001) (รูปที่ 1) ซึ่ง probability ของการ
                                                                                                       lp
                  เสียชีวิตในโรงพยาบาล สามารถวิเคราะห์ได้จาก combined THRIVE-MFP model ผ่านสมการ :  e /(1 +
                   lp
                  e ), ในขณะที่ lp = -6.218 + 0.031 (อายุ - 61.777) + 0.109 (NIHSS - 12.507) + -14.648 (([24-hour
                  ASPECTS+1]/10)3 - 0.506) + -7.059 (HB/RDW - 0.871) + -0.744 (โรคเบาหวาน : No=0 หรือ Yes=1) +
                  0.226 (โรคความดันโลหิตสูง : No=0 หรือ Yes=1) + 0.388 (AF : No=0 หรือ Yes=1) (รูปที่ 2)
                         รูปที่ 1 (a) การเปรียบเทียบเส้นโค้ง ROC และการประเมินประสิทธิภาพระหว่าง combined

                  THRIVE-MFP model และ THRIVE-c model สำหรับการพยากรณ์การเสียชีวิตในโรงพยาบาล (b) Model
   402   403   404   405   406   407   408   409   410   411   412