Page 408 - Best Practice Poster 2024 (อัพเดต)
P. 408
K3
calibration plot ที่แสดงให้เห็นถึง agreement ระหว่าง predicted odds และ observed proportion
ของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบเฉียบพลันที่ได้รับยาสลายลิ่มเลือด rt-PA
รูปที่ 2 การประเมินการเพิ่มคุณค่าของประสิทธิภาพเชิงพยากรณ์โดยการใช้ 24-hour ASPECTS และ
HB/RDW ratio ร่วมกับ THRIVE score โดยใช้ fractional polynomial transformation สำหรับการ
พยากรณ์การเสียชีวิตในโรงพยาบาล
ผู้วิจัยได้แบ่ง predicted probabilities ต่อการเสียชีวิตในโรงพยาบาล ออกเป็น 3 clinical risk
categories: ความเสี่ยงต่ำ (<5.0%) ความเสี่ยงปานกลาง (5.0–25.0%) และ ความเสี่ยงสูง (≥ 25%) เพื่อให้
ง่ายต่อการนำไปใช้ประโยชน์ในเวชปฏิบัติ (รูปที่ 1) นอกจากนี้ผู้วิจัยได้พัฒนา web base calculation
model โดยผู้ใช้งานสามารถใส่ข้อมูลเพื่อคำนวณโอกาสการเสียชีวิตของผู้ป่วย เพื่อวางแผนการรักษา, การ
บริหารเตียงใน stroke unit และ วางแผนในการพูดคุยพยากรณ์โรคของผู้ป่วยกับญาติ โดยสามารถเข้าผ่านเว็บ
ลิงก์นี้ได้ฟรีที่ https://www.sbh.go.th/thrive-mfp/ (สร้างขึ้นเมื่อวันที่ 25 กันยายน พ.ศ.2566) ในชื่อ
“Combined THRIVE-MFP calculation” web application (รูปที่ 3)
รูปที่ 3 Web application “combined THRIVE-MFP model” ที่สามารถเข้าถึงได้ฟรี เพื่อช่วย
อำนวยความสะดวกในการแบ่งกลุ่ม สำหรับลำดับความสำคัญในการดูแลรักษา จากการพยากรณ์ความเสี่ยง
ของการเสียชีวิตในโรงพยาบาลของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบเฉียบพลันที่ได้รับยาสลายลิ่มเลือด rt-PA
หมายเหตุ: สามารถเข้าผ่านเว็บลิงก์นี้ได้ฟรีที่ https://www.sbh.go.th/thrive-mfp/
รูปที่ 3 Web application “combined THRIVE-MFP
model” ที่สามารถเข้าถึงได้ฟรี เพื่อช่วยอำนวยความ
สะดวกในการแบ่งกลุ่ม สำหรับลำดับความสำคัญในการ
ดูแลรักษา จากการพยากรณ์ความเสี่ยงของการเสียชีวิต
ในโรงพยาบาลของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบ
เฉียบพลันที่ได้รับยาสลายลิ่มเลือด rt-PA
หมายเหตุ: สามารถเข้าผ่านเว็บลิงก์นี้ได้ฟรีที่
https://www.sbh.go.th/thrive-mfp/