Page 456 - Best Practice Poster 2024 (อัพเดต)
P. 456
L5
ไทยฯ (นวดประคบ นวดแก้อาการโดยแพทย์แผนไทย พอกยาสมุนไพร/กักน้ำมัน การสักน้ำมันสมุนไพร การจ่ายยา
สมุนไพร การให้คำแนะนำปฏิบัติตัว การงดอาหารแสลงและการสอนท่ากายบริหารแพทย์แผนไทยฯ) และ
กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมช่วงหลังได้รับบริการหลักทางแพทย์แผนไทยฯ (การ F/U การติดตามผลการรักษา การ
นัดรับการรักษาต่อเนื่อง และการเยี่ยมบ้านเพื่อติดตามอาการรวมถึงการแจกสื่อที่เกี่ยวข้องกับชุดกิจกรรมการ
ให้บริการ) 3)ขั้นสรุปผล ประเมินผลจากแบบประเมินระดับของความปวด อาการปวดกล้ามเนื้อก่อน-หลังได้รับ
บริการชุดกิจกรรมการบริการ และประเมินระดับความพึงพอใจต่อรูปแบบและผลการบรรเทาอาการปวด
กล้ามเนื้อ ก่อน -หลัง ได้รับบริการด้วยชุดกิจกรรมการบริการ กลุ่มตัวอย่างโดยสุ่มตัวอย่างแบบง่าย จำนวน 80
คน โดยมีความสมัครใจ (U5733,U5732) มีค่าระดับของความปวด อยู่ระหว่าง 6.1-8.0 ประกอบด้วย
ผู้รับบริการก่อนและหลังการปรับใช้รูปแบบชุดกิจกรรม จำนวน 30 คนและหลังการปรับใช้รูปแบบชุดกิจกรรม
จำนวน 50 คน ตั้งแต่ เดือนพฤศจิกายน 2565 - มีนาคม2566 โดยใช้แบบสอบถามปลายปิด สถิติที่ใช้ในการ
วิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติเชิงพรรณนา
รูปแบบชุดกิจกรรมการให้บริการ TTM New Normal Model Package (ช่วง COVID-19 วงล้อ PDCA 3รอบ)
ผู้รับบริการกลุ่มปวดกล้ามเนื้อ (U5733,U5732) มีจำนวนครั้งมาก
ติดอันดับในทุกปี มีการนวดและประคบเท่านั้น ทำให้ผู้รับบริการไม่
พึงพอใจต่อผลการบรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อ เกิดอุบัติการณ์ข้อ
ร้องเรียนในการรับบริการแพทย์แผนไทยฯ
รูปภาพที่ 1 วงล้อ PDCA 3 รอบ
การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา fishbone
analysis
รูปภาพที่ 3 fishbone analysis รูปภาพที่ 2 หัตถการเดิม
1.ขั้นเตรียมการ
รูปภาพที่ 4 วงล้อ PDCA รอบที่ 4
ใช้กระบวนการ PDCA ต่อยอดเป็น PDCA รอบที่ 4
รูปภาพที่ 5 วางแผนเตรียมการ