Page 498 - Best Practice Poster 2024 (อัพเดต)
P. 498

L47


                  อายุ 20 ปีขึ้นไป และมีอาการทางปิตตะ ได้แก่ ร้อนระส่ำระส่าย ปากแห้ง คอแห้ง ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 13 ราย
                  เก็บข้อมูลตั้งแต่เดือนมีนาคม – ธันวาคม 2566
                  เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาและการเก็บรวบรวมข้อมูล

                         1. เวชระเบียนผู้ป่วย (OPD card) ได้แก่ ข้อมูลทั่วไป เพศ อายุ อาการเจ็บป่วย และโรคประจำตัว
                         2. ระดับความรุนแรงของอาการทางปิตตะ แบบ Numberical rating scale (NRS) 0-10 คะแนน
                  แบ่งออกเป็น 4 ระดับ คือ เลข 0 คะแนน หมายถึง ไม่รุนแรงหรือไม่มีอาการ 1-3 คะแนน หมายถึง ระดับต่ำ
                  4-6 คะแนน ระดับปานกลาง และ 7-10 คะแนน หมายถึง ระดับสูง
                         3. การสัมภาษณ์เชิงลึก โดยการสัมภาษณ์ผู้ป่วย ญาติหรือผู้ดูแล เป็นผู้ให้ข้อมูลอาการดำเนินโรค และ

                  อาการไม่พึงประสงค์ที่อาจะเกิดขึ้นหลังได้รับยา
                  ตำรับยาและขนาดที่ใช้
                         ตำรับยาที่ใช้คือ ประสะจันทน์แดง ในรูปแบบยาแคปซูล 500 มิลลิกรัม ตราอาจาโร เฮิร์บ รับประทาน

                  ครั้งละ 2 แคปซูล (1 กรัม) วันละ 2 ครั้ง  ก่อนอาหาร เช้าและเย็น ติดตามผลการรักษา
                  การวิเคราะห์ข้อมูล
                         1. วิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานทั่วไปของอาสาสมัครโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Analysis) ได้แก่
                  จำนวน  ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
                         2. วิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างระดับความรุนแรงของอาการทางปิตตะก่อนและหลังใช้ตำรับ

                  ยาประสะจันทน์แดง โดยใช้สถิติ dependent t-test ค่าความเชื่อมั่นที่ระดับ (p < .05)

                  ผลการศึกษา
                         ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง (N=13) เป็นเพศชาย 4 ราย (30.77) เพศหญิง 9 ราย ( 69.23)
                  อายุเฉลี่ย 55.85 ปี มีโรคประจำตัว คือ โรคมะเร็ง 8 ราย (61.54) โรคหลอดเลือดสมอง 4 ราย (30.77) และ
                  โรควัยชรา 1 ราย (7.69)

                  ตารางที่ 1 ระดับความรุนแรงของอาการทางปิตตะของกลุ่มตัวอย่าง (N=13)

                                                         ก่อนใช้ยา N(%)               หลังใช้ยา N(%)
                          ระดับความรุนแรง            ร้อนระส่ำ     ปากแห้ง        ร้อนระส่ำ     ปากแห้ง

                                                      ระส่าย        คอแห้ง         ระส่าย        คอแห้ง
                  ไม่รุนแรง (0 คะแนน)                 0 (0)          0 (0)          0 (0)       2 (15.38)

                  ระดับต่ำ (1-3 คะแนน)                0 (0)        4 (30.77)      3 (23.07)    11 (84.62)
                  ระดับปานกลาง (4-6 คะแนน)           6 (46.15)     8 (61.54)     10 (76.93)       0 (0)
                  ระดับสูง (7-10 คะแนน)             7 (53.85)      1 (7.69)         0 (0)         0 (0)
                  ตารางที่ 2 เปรียบเทียบความแตกต่างระดับความรุนแรงของอาการทางปิตตะของกลุ่มตัวอย่าง (N=13)

                                                       Mean ± SD                                p-value
                      อาการทางปิตตะ                                                    t
                                                ก่อนใช้ยา           หลังใช้ยา
                  ร้อนระส่ำระส่าย              6.69 ±1.65          4.38 ±1.12        8.783       .000*

                  ปากแห้งคอแห้ง               4.23 ± 1.74         2.00 ± 1.08        9.667       .000*
   493   494   495   496   497   498   499   500   501   502   503