Page 556 - Best Practice Poster 2024 (อัพเดต)
P. 556
N20
ตารางที่ 1 ผลลัพธ์หลักของการศึกษา
จำนวน; ราย (ร้อยละ)
Pre intervention group Intervention group p-value
(จำนวน 150 ราย) (จำนวน 158 ราย)
De-escalation 9 (6) 23 (14.6) 0.014*
Switch to narrow spectrum 2 (1.3) 12 (7.6) 0.008*
agents
Switch to oral agents 0 1 (0.6) 1.000
Stop 7 (4.7) 10 (6.3) 0.523
DOT (วัน), มัธยฐาน (พิสัย 11 (7,14) 7 (5,10) <0.001*
ควอไทล์)
ตารางที่ 2 ผลลัพธ์รองของการศึกษา
จำนวน; ราย (ร้อยละ)
Pre intervention group Intervention group p-value
(จำนวน 150 ราย) (จำนวน 158 ราย)
Clinical improve day 3 24 (16) 44 (27.8) 0.012*
Clinical improve day 5 16 (10.7) 39 (24.7) 0.001*
Clinical improve day 7 24 (16) 29 (18.4) 0.584
30 day mortality 13 (8.7) 8 (5.1) 0.210
อภิปรายผล: Antimicrobial Stewardship Program (ASP) เป็นกระบวนปฏิบัติที่สำคัญในการควบคุมการใช้
ยาต้านจุลชีพให้เกิดความเหมาะสม โดยกระบวนการหลักที่นำมาปฏิบัติควรเลือกใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของ
สถานพยาบาลนั้นๆ ซึ่งกระบวนการประเมินและให้ข้อเสนอแนะในการสั่งใช้ยาเป็นกระบวนการใน ASP
ที่นำมาปฏิบัติและส่งผลให้เกิดการใช้ยาที่เหมาะสม ลดการใช้ยาที่ครอบคลุมเชื้อกว้าง ลดระยะเวลาการใช้ยา
และส่งผลให้ผู้ป่วยมีผลลัพธ์ทางการรักษาที่ดีขึ้น รวมถึงลดสถานการณ์การเกิดเชื้อดื้อยาในอนาคต ในส่วนของ
การประเมินผลการรักษาต้องประเมินถึงความรุนแรงของโรค ประวัติการได้รับยาปฏิชีวนะก่อนหน้า และ
อาการทางคลินิกเพื่อให้เกิดความเหมาะสมในผู้ป่วยเฉพาะราย
สรุปและข้อเสนอแนะ: กระบวนการประเมินและให้ข้อเสนอแนะในการสั่งใช้ยาช่วยลดการใช้ยา
meropenem ซึ่งเป็นยาที่ครอบคลุมเชื้อกว้าง และลดระยะเวลาการใช้ยา รวมถึงเพิ่มผลลัพธ์การรักษาที่ดีขึ้น
การพัฒนากระบวนการดังกล่าวเพื่อให้ครอบคลุมให้เกิดการใช้ยาที่เหมาะสมมากขึ้น อาจพิจารณาติดตาม
ผลลัพธ์ในหอผู้ป่วยวิกฤตและหอผู้ป่วยศัลยกรรม รวมถึงกำกับติดตามรายการยาที่มีการใช้มากและอาจเกิด
ปัญหาเชื้อดื้อยารายการอื่น