Page 551 - Best Practice Poster 2024 (อัพเดต)
P. 551

N15

                         5.  ประเมินความรู้หลังการใช้ Application Line Official Account “ป้องกันเชื้อดื้อยา”


                  ผลการศึกษา: ผลการพัฒนารูปแบบการให้ความรู้ในการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพโดย
                  ประยุกต์ใช้ Application Line Official  Account  ในกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 37 ราย
                         1.  ร้อยละความพึงพอใจของการใช้ Application = 92.40
                         2.  ผลประเมินความรู้หลังการใช้ Application Line Official Account “ป้องกันเชื้อดื้อยา” ผู้ดูแล

                  ผู้ป่วยเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพมีความรู้อยู่ในระดับดี-ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 91.8

                  อภิปรายผล: สื่อความรู้ในการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ “Application Line official
                  ป้องกันเชื้อดื้อยา” สามารถใช้เป็นสื่อความรู้ในการปฏิบัติเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพของ
                  ผู้ดูแลผู้ป่วยเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ  ซึ่งสามารถตอบคำถามคลายความสงสัยแบบอัตโนมัติได้ทุกที่ทุกเวลา สะดวก
                  ในการเข้าถึงและใช้บริการสื่อความรู้

                  ข้อเสนอแนะ: Application Line official  ป้องกันเชื้อดื้อยา นี้ นำไปใช้เป็นส่วนหนึ่งของเครื่องมือวิจัยพัฒนา

                  โปรแกรมการสร้างเสริมความรอบรู้ในการปฏิบัติของผู้ดูแลผู้ป่วยเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาต้าน
                  จุลชีพในชุมชน และเผยแพร่ให้ รพ.สมเด็จพระยุพราชตะพานหิน จังหวัดพิจิตร นำไปใช้ในการให้ความรู้ผู้ดูแล

                  ผู้ป่วยเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ
   546   547   548   549   550   551   552   553   554   555   556