Page 596 - Best Practice Poster 2024 (อัพเดต)
P. 596

O10


                  ผลการศึกษา

                  เมื่อเริ่มใช้เกณฑ์การคัดเข้า IMC ใหม่ในเดือนกรกฎาคม 2566 เป็นระยะเวลา 6 เดือน

                         4.1 ในกลุ่มผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์ IMC ของโรงพยาบาลจอมทอง พบว่า
                                         ปีงบประมาณ        2565     2566      ตุลาคม – ธันวาคม 2567(ปรับ
                   ตัวชี้วัด                                                  ระบบการคัดเข้า IMC)

                   ได้รับการติดตามจนครบ 6 เดือน หรือ จน  77%        68%       79%
                   Barthel index (BI) ครบ 20 คะแนน
                   ภาวะแทรกซ้อน                            2.5%     15%       -

                   -แผลกดทับ                               -        -         12%
                   -pneumonia                              -        -         3.3%
                   -UTI                                    -        -         4.2%

                   เสียชีวิตภายใน 6 เดือน                  1.6%     17.9%     10.8%
                           4.1.1 การติดตามผู้ป่วย ครบ 6 เดือน หรือ BI เท่ากับ 20 ได้เพิ่มมากขึ้น
                          4.1.2 ภาวะแทรกซ้อนโดยภาพรวมและการเสียชีวิตลดลง
                         4.2 เมื่อคัดผู้ป่วยที่ BI 0-4 ให้ดูแลในพื้นที่เป็นหลัก พบว่า

                           4.2.1 การเข้าถึงการประเมินและดูแลในชุมชนของผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์ IMC ด้วยการเยี่ยมบ้านที่มีการ
                  บันทึกใน ThaiCOC และ HosXP โดยนับรวม การเยี่ยมโดยทีมโรงพยาบาลจอมทอง และการเยี่ยมโดยทีม รพ.สต

                              ปีงบประมาณ                  % การติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วย 4 กลุ่มโรค

                   ประเภทผู้ป่วย            2565               2566             ไตรมาส 1 ของปี 2567


                   ผู้ป่วยเข้าระบบ IMC      63%                71%              76%

                   ผู้ป่วยที่ไม่เข้าระบบ IMC    เข้าIMCทั้งหมด   86% (12/14คน)  ยังไม่มีผู้ป่วยไม่เข้าเกณฑ์

                  อภิปรายผล
                         5.1 ผลที่ได้เกิดจากการติดตามข้อมูล ThaiCOC และ HosXP ของโรงพยาบาลจอมทองในผู้ป่วยที่ได้

                  ลงทะเบียน IMC มีรายละเอียดเพิ่มเติมคือ ในกลุ่มที่ไม่ได้รับการเยี่ยมบ้านปี 2565, 2566 และไตรมาสแรกของ
                  ปี 2567 พบว่ามีผู้ป่วยที่ไม่ได้ลงทะเบียนใน ThaiCOC เมื่อเทียบกับจำนวนผู้ป่วยที่ไม่ได้เยี่ยมบ้าน คือ 89%,
                  82% และ 100% ตามลำดับ

                         5.2 จากข้อจำกัดด้านบุคลากรในชุมชนรวมถึงมีการเพิ่มผู้ป่วยกลุ่มกระดูกสะโพกหักจากภยันตรายไม่
                  รุนแรง ทำให้มีผู้ป่วยที่ต้องการการดูแลในชุมชนมากขึ้น จึงได้ปรับแนวทางปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย IMC โดย

                  มุ่งเน้นผู้ป่วยที่มีศักยภาพในการฟื้นฟู (BI > 4 คะแนน) มีโอกาสในการฟื้นตัวให้เข้าสู่การรับบริการได้มากขึ้น
                         5.3 การทำงานร่วมกับเครือข่าย ทีมแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว ในการช่วยดูแลและวางแผนการดูแล
                  ต่อเนื่อง ในผู้ป่วยที่ BI 0-4 คะแนน หรือ หากเข้าเกณฑ์ palliative care ผู้ป่วยจะได้รับการดูแลอย่าง
                  เหมาะสมในชุมชนที่อาศัย

                         5.4 ทีม รพ.สต. เป็นทีมเครือข่าย ที่เป็นส่วนสำคัญในการดูแลต่อเนื่อง จึงควรมีระบบการส่งต่อและคืน

                  ข้อมูลผู้ป่วยเพื่อให้เกิดความต่อเนื่องในการดูแลผู้ป่วย

                  สรุปและข้อเสนอแนะ
   591   592   593   594   595   596   597   598   599   600   601