Page 95 - Best Practice Poster 2024 (อัพเดต)
P. 95

B23

                  ตารางที่ 1 จำนวนและร้อยละของลักษณะทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง (N=31)

                   ลักษณะทั่วไป                                  (N=คน)                  ร้อยละ
                   อายุ (MEAN = 55 , SD = 31 ,    Min =    25 , Max = 70 ) (ปี)
                   เพศ                    หญิง                   31                    100

                   สถานภาพสมรส            โสด                    8                     25.80
                                          คู่                    19                    61.29
                                          หม้าย/หย่าร้าง         4                     12.90
                   โรคประจำตัว            โรคความดันโลหิตสูง     20                    64.52

                                          โรคเบาหวาน             18                    58.06
                                          โรคไขมันในเลือดสูง     8                     25.80
                                          โรคหัวใจ               2                     6.45

                                          โรคไต                  0                       0
                                          อื่นๆ                  0                       0
                                          ไม่มีโรคประจำตัว       10                    32.25
                  จากตาราง  1  กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีอายุอยู่ในช่วง  25-70ปี  และมีสถานภาพสมรสคู่และโสด  คิดเป็นร้อยละ

                  61.29 และร้อยละ 25.80 ตามลำดับและมีโรคประจำตัวโรคความดันโลหิตสูงร้อยละ 64.52 โรคเบาหวานร้อย
                  ละ 58.06โรคไขมันในเลือดสูงร้อยละ 25.80 และโรคหัวใจร้อยละ 6.45
                  ตารางที่ 2 จำนวนและร้อยละของผลลััพธ์์การใช้โปรแกรมวางแผนจำหน่ายผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม

                                                                         (N=คน)        ผลลัพธ์การใช้โปรแกรมวางแผน
                                                                         (N=31)        จำหน่าย(ร้อยละ)

                    ผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับการผ่าตัดได้รับการวางแผนจำหน่าย        31                                    100
                    คะแนนการประเมินความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านม การรักษา        31                97
                    และการปฏิบัติตัวเมื่อออกจากโรงพยาบาล (Post-test)

                   คะแนนความพึงพอใจต่อการวางแผนจำหน่ายของผู้ป่วยมะเร็ง     31                                                             98
                   เต้านมที่ได้รับการผ่าตัด
                   อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังทำผ่าตัดมะเร็งเต้านม

                       แผลติดเชื้อ(ภายใน1เดือน)                            0                          0
                       ข้อไหล่ยึดติด(ภายใน6เดือน)                          0                          0
                       Seroma(ภายใน6เดือน)                                 4                        12.90
                       Lymphedema(ภายใน6เดือน)                                                                                                                                                                                                                           0
                                                                           0
                  จากตาราง 2 พบว่าผลการวิจัย พบว่าผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับการผ่าตัดได้รับการวางแผนจำหน่าย ร้อยละ
                  100 คะแนนการประเมินความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านม การรักษา และการปฏิบัติตัวเมื่อออกจากโรงพยาบาล
                  (Post-test) ร้อยละ 97 คะแนนความพึงพอใจต่อการวางแผนจำหน่ายของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่ได้รับการผ่าตัด

                  ร้อยละ 98อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังทำผ่าตัดมะเร็งเต้านมชนิดถอนรากแบบดัดแปลงพบอัตราการเกิด
                  Seroma (ภายใน6เดือน) ร้อยละ 12.90

                  อภิปรายผล
                         ผลการศึกษาพบว่าการใช้โปรแกรมวางแผนจำหน่ายและติดตามประเมินการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลัง
                  ผ่าตัด 1 เดือน ซึ่งเป็นระยะ ผู้ป่วยได้รับการติดตามดูแลอย่างต่อเนื่องทำให้ผู้ป่วย มั่นใจในการดูแลตนเอง

                  ประกอบกับการส่งเสริม ให้ครอบครัวเข้ามามีส่วนร่วมจะช่วยให้ผู้ป่วยยอมรับและปรับตัวกับสภาพความ
   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100