Page 84 - ระบบรับส่งต่อผู้ป่วย
P. 84
ตำรำงที่ 3 จ านวนและร้อยละการแจ้งรพ.ต้นทางที่จุดปักหมุดในผู้ป่วยCOVID19 (n=92)
กำรแจ้งรพ.ต้นทำงที่จุดปักหมุด รอบที่ 1 รอบที่ 2 (n=88) รอบที่ 3 (n=4)
(n=143) จ ำนวน ร้อยละ จ ำนวน ร้อยละ จ ำนวน ร้อยละ
1. ปฏิบัติ (แจ้ง) 0 0.00 88 100.00 4 100.00
2. ไม่ปฏิบัติ (ไม่แจ้ง) 0 0.00 0 0.00 0 0.00
ความพึงพอใจของผู้ใช้แนวปฏิบัติ ระบบปักหมุดหยุด โควิด ก่อนใช้แนวปฏิบัติ 49.00 (ระดับต่ า)
หลังใช้แนวปฏิบัติ 80.00 (ระดับดี)
อภิปรำยผล
ั
การพฒนาแนวทางปฏิบัติการรับผู้ป่วย Refer in ในสถานการณ์โควิดโดยใช้การปักหมุด มีการน า
Digital Technology มาใช้คือ Group Line ระหว่างแพทย์กับแพทย์ พยาบาลกับพยาบาล ท าให้มีการ
ิ่
เพมประสิทธิภาพในการสื่อสารซึ่งในระยะที่ 1 ต้องมีการปรับตัวร่วมกับการมีภาระงานมากขึ้น แต่เมื่อมีการ
ติดตามและประเมินผลเป็นระยะๆและน าข้อมูลที่ได้มาแก้ไขปรับปรุงในแต่ละวงรอบการพฒนาท าให้มีแนว
ั
ปฏิบัติที่ชัดเจนสามารถท าให้ผู้ให้บริการปฏิบัติตามได้ง่าย ลดระยะเวลาในการสื่อสารและการท างานเกิดความ
พึงพอใจและความปลอดภัยต่อผู้ให้บริการและผู้รับบริการ ลดการแพร่กระจายเชื้อโควิดได้
สรุปและข้อเสนะแนะ
- แนวทางปฏิบัติการรับผู้ป่วย Refer in ในสถานการณ์โควิดโดยใช้การปักหมุดสามารถเพมศักยภาพ
ิ่
ี
ั
ภาคีเครือข่ายระบบรับผู้ป่วย Refer in ที่เข้มแข็งและมประสิทธิภาพในการป้องกนการแพร่กระจายผู้ป่วยโควิด
และเกิดความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน
- พัฒนาระบบ ด้วย Telemedicine Application
ผลงานวิชาการ Smart Referral System for “One Province One ER” 2023 80