Page 292 - Best practice_Oral2024 (อัพเดต)
P. 292

G33


                  6. สรุปและข้อเสนอแนะ
                         1.งานวิจัยนี้ มุ่งเน้นการพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยเพื่อให้เกิดเกิดระบบการแจ้งเตือนเจ้าหน้าที่
                  ในกระบวนการดูแลผู้ป่วยแต่ยังขาดการเก็บข้อมูลการให้คำปรึกษาหรือให้ความรู้กับผู้ป่วยแล้ววัดผลหลังให้

                  คำปรึกษาและให้ความรู้ในการปฏิบัติตัวเพื่อจะสามารถประเมินผู้ป่วยได้ว่ามีศักยภาพในการดูแลตัวเองได้มาก
                  ขึ้นหรือไม่ ดังนั้นในการวิจัยครั้งถัดไปควรมุ่งเน้นการวัดผลศักยภาพของผู้ป่วยเพื่อให้สามารถดูแลตัวเองได้
                         2.ระยะเวลาในการดำเนินโครงการอาจต้องเพิ่มระยะเวลาให้มากขึ้นเพื่อให้วงล้อ

                  เอกสารอ้างอิง
                  1.ยุทธศาสตร์ชาติกระทรวงสาธารณสุข  ยุทธศาสตร์ที่ 3 เข้าถึงได้จาก: https://spd.moph.go.th/20-year-

                  national-strategy-public-health/
                  2.เกณฑ์ รพ.สต.ติดดาว พ.ศ.2561เข้าถึงได้จาก:https://spd.moph.go.th/kpi-template-2566/
                  3.พรรณี  ศรีบุญชื่อ,พัชนี  คาร์มิราเอล,เทียมจันทร์  สุนทรารชุน,อารยา ปริสุวรรณ.คู่มือการใช้ยา Warfarin

                  สำหรับเภสัชกร:ประสบการณ์สถาบันโรคทรวงอก.2553
                  4.ยาใจ พงษ์บริบูรณ์. การวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) [Online]. เข้าถึงได้จาก:

                  http://www.mp.kus.ku.ac.th/Research Project/Article/Yachai AR 2.pdf.[สืบค้นเมื่อ 31 ตุลาคม
                  2566].
                  5.อัจฉรีย์ สีหา.การพัฒนากระบวนการดูแลผู้ป่วยที่ใช้ยาวาร์ฟารินของหน่วยบริการปฐมภูมิ: กรณีศึกษาเขต

                  สุขภาพ อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์.[วิทยานิพนธ์ปริญญาเภสัชศาสตร มหาบัณฑิต] มหาสารคาม :
                  มหาวิทยาลัยมหาสารคาม : 2565.
                  6.ประภา  พิทักษา และคณะ.การพัฒนาระบบส่งต่อข้อมูลการบริบาลเภสัชกรรมในผู้ป่วยที่ใช้ยาวาร์ฟาริน

                   เพื่อพัฒนาระบบการส่งต่อข้อมูลการบริบาลทางเภสัชกรรมผู้ป่วยที่ใช้วาร์ฟาริน.วารสารเภสัชกรรมคลินิก.
                  2566;29:87-101
                  7.ติยารัตน์ ภูติยา.การพัฒนารูปแบบการบริบาลทางเภสัชกรรมสำหรับการดูแลผู้ป่วยในคลินิกวาร์ฟาริน

                  โรงพยาบาลโขงเจียม อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี.วารสารวิจัยสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
                  อุบลราชธานี.2566;12:58-69

                  8.วรรณวิมล เหลือล้น.ประสิทธิผลของการเยี่ยมบ้านด้านยาในผู้ป่วยที่ได้รับยาวาร์ฟารินโรงพยาบาลน้ำหนาว.
                  วารสารเภสัชกรรมคลินิก.2563;26:1-13
                  9.อุทัย  บุญเรือน.ผลของการให้คำปรึกษาแบบสั้น(Brief Intervebtion)ต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วย

                  ที่รับยาวาร์ฟาริน คลินิกวาร์ฟาริน งานผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร.วารสารอนามัย
                  สิ่งแวดล้อมและสุขภาพชุมชน.2565;8:229-38.

                  10.พัทยา หวังสุข, ภัทรินทร์ กิตติบุญญาคุณ และพยอม สุขเอนกนันท์. การประเมินโครงการเครือข่ายการดูแล
                  ผู้ป่วยที่ใช้ยาวาร์ฟาริน ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล.วารสารเภสัชกรรมไทย. 2557; 6:92–105
   287   288   289   290   291   292   293   294   295   296   297