Page 528 - Best practice_Oral2024 (อัพเดต)
P. 528
O3
3. ศึกษาและออกแบบระบบการสอน & การฝึกดูแลฟื้นฟูสภาพผู้ป่วย
- จัดท าโปรแกรมการฝึกตามสภาพปัญหา และร่วมวางแผน Home program กับผู้ป่วยและญาติ
- สแกน QR code สื่อการสอน เพิ่มช่องทางหาข้อมูลในการฝึกปฏิบัติเพิ่มเติม
4. พัฒนาระบบการส่งต่อข้อมูล และติดตามผู้ป่วยหลังจ าหน่าย เพื่อได้รับการดูแลต่อเนื่อง
- ส่งต่อข้อมูลผู้ป่วยในระบบ HHC ดูแลในชุมชน และส่งต่อผู้ป่วย IMC ในจังหวัด ผ่านระบบ PRM
Refer (two-way communication)
- นัดท ากายภาพ OPD Case หรือส่งฝึกต่อที่ศูนย์ CBR หรือ Re-admit
- สแกน QR code line ส าหรับให้ค าปรึกษาในการฟื้นฟูและดูแลสุขภาพ
5. จัดสถานที่ให้เหมาะสม โดยหอผู้ป่วย IMC จะแยกจากหอผู้ป่วยในทั่วไป ภายในห้องผู้ป่วยมีห้องฝึก
กิจกรรมต่างๆ รวมไปถึงที่พักและสิ่งอ านวยความสะดวกให้ญาติหรือผู้ดูแลด้วย
3.3 ด้านผู้ป่วย/ญาติ : เตรียมความพร้อมเมื่อกลับบ้านสู่ชุมชน มีให้ความรู้ และสามารถจัดการสุขภาพตนเอง
ได้หลังจ าหน่าย
ผลการศึกษา : จากการเก็บข้อมูลย้อนหลัง 2 ปี ในผู้ป่วย IMC ทุกรายที่ Admit IMC bed และ Admit IMC
ward มีผลลัพธ์ที่แตกต่างกันชัดเจน โดยการฟื้นฟูสภาพแบบ Intensive rehab มีประสิทธิภาพมากกว่า ท าให้
การฟื้นฟูสภาพบรรลุตามเป้าหมายเพิ่มระดับความสามารถในการท ากิจกรรมได้สูงสุดตามศักยภาพของผู้ป่วย
ซึ่งสามารถป้องกันและลดความพิการ หรือภาวะทุพพลภาพได้
ปี 2565 ปี 2566
เป้าหมาย ปี 2567
ตัวชี้วัด IMC IMC
(ร้อยละ) (4เดือน)
bed ward
1. ร้อยละผู้ป่วยที่บรรลุเป้าหมายของการฟื้นฟู 80 71.43 86.67 88.89
(10/14) (39/45) (24/27)
2. ร้อยละผู้ป่วยมีค่า BI เพิ่มขึ้น 2 คะแนนขึ้นไปเมื่อจ าหน่าย 60 21.43 62.22 66.67
(3/14) (28/45) (18/27)
3. ร้อยละความพึงพอใจขอผู้รับบริการ 85 NA 90.52 91