Page 530 - Best practice_Oral2024 (อัพเดต)
P. 530

O5

                                    IMC ใกล้บ้าน ใกล้ใจ ด้วยรูปแบบพัฒนาใหม่ 1 วัน 1 โซน


                                                            นางสาวพิมลพรรณ พรหมบ้านสังข์ นางสาวรัตติยาพร วังมณี
                                                                 นางสาวไผทพร เถียรทอง และนางสาวปิยากร ทาแก้ว

                                                      โรงพยาบาลแม่สาย อ าเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย เขตสุขภาพที่ 1
                                                                                ประเภท นวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ์


                  ความส าคัญของปัญหาวิจัย
                         จากสถิติจ านวนการส่งปรึกษาผู้ป่วยระยะกลาง (intermediate care, IMC) เข้ารับบริการฟื้นฟูที่

                  กลุ่มงานเวชกรรมฟื้นฟู โรงพยาบาลแม่สาย มีจ านวน 183 และ 165 ราย ในปี 65 และ ปี 66 ตามล าดับ

                  ซึ่ง รพ.แม่สาย จะติดตามดูแลผู้ป่วย IMC ในกลุ่มทุกสิทธิบัตร ทั้งคนไทย และ กลุ่มคืนสิทธิ์ (ต่างด้าวที่มาอาศัย
                  อยู่ชายแดน ไทย-พม่า) จากการติดตามผู้ป่วย พบว่า ระดับความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจ าวันเพิ่มขึ้น

                  จากคะแนน BI เป็นร้อยละ 81.85 และ 90.5 ในปี 65 และ ปี 66 ตามล าดับ ผู้ป่วยจ านวนมากไม่สามารถ
                  มารับบริการฟื้นฟูสภาพที่ รพ.ได้ ดังนั้น รพ.แม่สายจึงเริ่มพัฒนาระบบการออกให้บริการผู้ป่วยในชุมชนตั้งแต่

                  ปี 66 โดยออกให้บริการฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยระยะกลางในชุมชน 1 ครั้ง/ต าบล/เดือน ทั้งหมด 8 ต าบล จ านวน

                  1.5 วัน/สัปดาห์ ปัญหาที่พบคือ ระยะเวลารอคอยหลังจากที่ผู้ป่วยถูกจ าหน่ายออกจาก รพ.ไปรอรับการฟื้นฟู
                  สภาพที่บ้านยังล่าช้า ส่งผลให้ความถี่ในการได้รับการดูแลฟื้นฟูในระยะ 6 เดือนแรก สามารถท าได้เฉลี่ย

                  2 ครั้ง/ราย/เดือน
                         กลุ่มงานเวชกรรมฟื้นฟู จึงมีแนวคิดในการพัฒนารูปแบบการให้บริการฟื้นฟูสภาพในชุมชนให้มี

                  ความรวดเร็ว และมีความถี่ในการออกติดตามมากขึ้น จากรูปแบบเดิมที่มีการก าหนดพื้นที่รับผิดชอบให้

                  นักกายภาพบ าบัดทุกคน ออกให้บริการฟื้นฟูในชุมชน 1 ครั้ง/ต าบล/เดือน เป็นแบบใหม่การก าหนดพื้นที่โดย
                  การแบ่งพื้นที่ออกเป็น 3 โซน ก าหนดวันที่ออกให้บริการเป็น 3 วัน/สัปดาห์, 1 วัน/โซน และจัดทีมฟื้นฟูหลัก

                  ประกอบด้วยนักกายภาพบ าบัดที่รับผิดชอบผู้ป่วยนอก 1 คน และนักกิจกรรมบ าบัด 1 คนเป็นทีมเคลื่อนที่เร็ว

                  ออกติดตามและให้บริการฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยในชุมชนตามวันและโซนที่ก าหนด โดยให้ทีมฟื้นฟูสมรรถภาพ
                  ผู้สูงอายุในชุมชนที่มีการจัดตั้งคลินิกในแต่ละรพ.สต. 1 ครั้ง/เดือน เป็นทีมรองร่วมกับเจ้าหน้าที่รพ.สต. ในพื้นที่

                  และอาสาสมัครสาธารณสุขช่วยออกให้บริการฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยระยะกลางในช่วงบ่ายเมื่อเสร็จจากการจัดตั้ง

                  คลินิกฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงอายุ

                  วัตถุประสงค์การศึกษา

                         1. เพื่อพัฒนาระบบการให้บริการฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยระยะกลางให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
                         2. ลดระยะเวลารอคอยการในการให้บริการฟื้นฟูในชุมชน เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถช่วยเหลือตัวเองได้เร็วขึ้น

                         3. ผลงานการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพเพิ่มมากขึ้น
   525   526   527   528   529   530   531   532   533   534   535