Page 532 - Best practice_Oral2024 (อัพเดต)
P. 532
O7
ผลการศึกษา
ปีงบประมาณ 2566 2567 (ต.ค.66 – ก.พ.67)
จ านวนผู้ป่วยระยะกลางที่ได้รับการติดตามในชุมชน 83 ราย 42 ราย
ค่าเฉลี่ย BI ในเดือนที่ 1 10 12
ค่าเฉลี่ย BI ในเดือนที่ 3 13 17
ระยะเวลารอคอยเฉลี่ยตั้งแต่จ าหน่ายออกจาก 21 วัน 12 วัน
โรงพยาบาล
จ านวนครั้งในการออกให้บริการฟื้นฟูในชุมชน 107 ครั้ง 134 ครั้ง
ความถี่ในการได้รับบริการฟื้นฟูสภาพ 2 ครั้ง/ราย/เดือน 4 ครั้ง/ราย/เดือน
ผลงานการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพจากระบบ 118,070 บาท 179,200 บาท
บูรณาการติดตามข้อมูลการจ่ายชดเชยโรคเฉพาะ
(Seamless For DIMS)
อภิปรายผล
1. การให้บริการ IMC ในชุมชนแบบใหม่ 1 วัน 1 โซน ช่วยบริหารจัดการเวลาในการลงเยี่ยมผู้ป่วยที่
บ้านได้ดีมากขึ้น ท าให้ลดระยะเวลารอคอย, เพิ่มจ านวนครั้งในการให้บริการ ซึ่งการฟื้นฟูทางกายภาพบ าบัด
อย่างต่อเนื่องในระยะเวลาที่เหมาะสมต่อการฟื้นตัวของผู้ป่วยภายใต้จ านวนครั้งและความถี่ที่เพียงพอ ผู้ป่วยจะ
มีโอกาสฟื้นตัวได้ดี โดยเฉพาะในช่วง 6 เดือนแรก ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ผู้ป่วยฟื้นตัวได้เร็วที่สุด
2. ผู้ป่วย IMC ส่วนใหญ่ ความล าบากในการเดินทาง ส าหรับผู้ป่วยในพื้นที่ชนบทก็เป็นอุปสรรคของ
การเข้าถึงบริการฟื้นฟูสภาพ ดังนั้น การให้บริการในชุมชน โดยมีการร่วมมือกันระหว่าง บุคลากรทาง
สาธารณสุข และ เจ้าหน้าที่รพ.สต. ในพื้นที่ และอาสาสมัครสาธารณสุข เป็นสิ่งส าคัญ ที่ช่วยท าให้ผู้ป่วยเข้าถึง
บริการที่ใกล้บ้าน
สรุปและข้อเสนอแนะ
1. การพัฒนาระบบการปฏิบัติงานร่วมกับ CG ในชุมชน เพื่อเพิ่มความต่อเนื่องในการฟื้นฟูสภาพผู้ป่วย
2. การลงพื้นที่ในชุมชนจะเสียเวลากับการเดินทาง ดังนั้นหากในโซนที่มีความแออัดของผู้ป่วย จึงควร
จัดล าดับความจ าเป็นในการได้รับการฟื้นฟูสภาพ แล้วเกลี่ยผู้ป่วยที่มีอาการดีขึ้นไปรวมกับโซนใกล้เคียงที่มี
จ านวนน้อยกว่า เพื่อเพิ่มคุณภาพของการให้บริการฟื้นฟู