Page 561 - Best practice_Oral2024 (อัพเดต)
P. 561
O36
การพัฒนาระบบบริการผู้ป่วยระยะกึ่งเฉียบพลันในชุมชน โดยภาคีเครือข่าย อ้าเภอวังน ้าเขียว
นายสันติภาพ พึ่งอ่่า นายไชยรัตน์ วิชัยยุทธ และนายแพทย์นิรัตน์ ชนะประโคน
โรงพยาบาลวังน ่าเขียว จังหวัดนครราชสีมา เขตสุขภาพที่ 9
ประเภท วิชาการ
ความส าคัญของปัญหาวิจัย
โรงพยาบาลวังน ่าเขียวได้มีการด่าเนินการให้บริการผู้ป่วยระยะกึ่งเฉียบพลัน (Intermediate care)
อย่างต่อเนื่องในรูปแบบผู้ป่วยใน ผู้ป่วยนอกและการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพในชุมชนตั งแต่ปี พ.ศ.2561
ซึ่งจากการด่าเนินงานพบว่าผู้ป่วยระยะกึ่งเฉียบพลันได้รับการดูแลติดตามฟื้นฟูสมรรถภาพต่อเนื่องในชุมชน
ตามเกณฑ์ คือ ติดตามหลังจ่าหน่ายจากโรงพยาบาล 4 วันและติดตามจนครบ 6 เดือน หรือคะแนนบาร์เทล
(Barthel index) = 20 ร้อยละ 80 มีผลลัพธ์การฟื้นฟูตามเป้าหมาย ร้อยละ 78.95 มีภาวะแทรกซ้อน ร้อยละ 15
ในช่วงปีงบประมาณ 2563 – 2564 ได้มีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื อไวรัสโคโรนา-19 ดังนั นทีมดูแล
ผู้ป่วยระยะกึ่งเฉียบพลันของอ่าเภอวังน ่าเขียว จึงได้พัฒนาระบบการติดตามผู้ป่วยโดยการใช้ Tele consult
และการใช้ระบบการติดตามโดยการวิดีโอทางไลน์ ขึ นมาเพื่อให้ผู้ป่วยระยะกึ่งเฉียบพลัน ได้รับการดูแลติดตาม
ฟื้นฟูสมรรถภาพต่อเนื่องในชุมชน มีความปลอดภัย ลดความเสี่ยงในการติดเชื อไวรัสโคโรนา-19 ใน
ปีงบประมาณ 2565 โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ได้เป็นศูนย์ให้บริการส่งต่อผู้ป่วยโรคหลอด
เลือดสมองจากโรงพยาบาลวังน ่าเขียว ท่าให้ผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์ผู้ป่วยระยะกึ่งเฉียบพลันไม่ได้รับการส่งต่อมา
รักษาต่อที่โรงพยาบาลวังน ่าเขียว แต่ถูกจ่าหน่ายกลับไปที่บ้านแทนร้อยละ 100 และในปีงบประมาณ 2567
รพ.ปักธงชัย ได้เป็นแม่ข่ายในการส่งต่อผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ซึ่งในช่วงไตรมาสแรก รพ.วังน ่าเขียวยัง
พบปัญการการส่งต่อผู้ป่วยกลับมาฟื้นฟูสมรรถภาพต่อเนื่องที่โรงพยาบาลวังน ่าเขียว เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการ
ฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างต่อเนื่อง ตามนโยบายให้บริการแบบไร้รอยต่อ
นอกจากนี การทบทวนสาเหตุของปัญหาในการด่าเนินงานที่ผ่านมาพบว่า ผู้ป่วยได้รับการดูแลฟื้นฟู
สมรรถภาพไม่ต่อเนื่อง และมีภาวะแทรกซ้อน ซึ่งสาเหตุหลักๆมาจากความยากจน ผู้ป่วยย้ายที่อยู่เนื่องจากบาง
รายเป็นวัยท่างานมารับจ้างที่อ่าเภอวังน ่าเขียว ความรู้ของผู้ดูแล เนื่องจากผู้แลผู้ป่วยบางรายเป็นผู้สูงอายุขาด
ความรู้ความเข้าใจในการดูแล ระยะทางและค่าใช้จ่ายในการเดินทางมารับบริการฟื้นฟูสมรรถภาพที่
โรงพยาบาล ความรู้การเข้าถึงด้านสวัสดิการของผู้ป่วย และระบบการท่างานของผู้รับผิดชอบการดูแลผู้ป่วย
ระยะกึ่งเฉียบพลันในชุมชนอ่าเภอวังน ่าเขียว ดังนั น ทีมคณะท่างานผู้ป่วยระยะกึ่งเฉียบพลัน อ่าเภอวังน ่าเขียว
จึงได้พัฒนาโดยมีการท่า Action plan เกิดเป็นระบบ IMC WNK TEAM ขึ นมาเพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการดูแล
ติดตามฟื้นฟูสมรรถภาพต่อเนื่องในชุมชน โดยการร่วมมือของทีมสหวิชาชีพ องค์กรปกครองท้องถิ่น
สาธารณสุขอ่าเภอ พัฒนาชุมชม เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต่าบที่รับผิดชอบ นักบริบาล อาสาสมัคร
สาธารณสุขประจ่าหมู่บ้าน (อสม) ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการออกแบบระบบการดูแล และที่ส่าคัญคือผู้ป่วย
และญาติเข้ามามีส่วนร่วม เพื่อให้การพัฒนาเป็นไปอย่างต่อเนื่องสอดคล้องกับ Service plan สาขา การดูแล
ระยะเปลี่ยนผ่านผู้ป่วยกึ่งเฉียบพลัน คณะท่างานจึงมีความสนใจที่จะพัฒนาระบบบริการผู้ป่วยระยะกึ่ง