Page 565 - Best practice_Oral2024 (อัพเดต)
P. 565

O40

                  ผลการศึกษา ระยะที่ 1 ศึกษาสภาพปัญหาเพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานผู้ป่วยระยะกลาง เดิมมีการแบ่งโซนการเยี่ยม

                  บ้าน การส่งต่อและตอบกลับข้อมูลผ่าน Thai COC มานานแล้ว ระยะเปลี่ยนผ่านหลังการระบาดโรค covid-
                  19 ประกอบกับเปลี่ยนผู้รับผิดชอบงาน ท าให้ระบบรายงานการติดตามไม่ต่อเนื่อง ไม่มีข้อมูลการประเมินผู้ป่วย

                  ในเขตต าบลในเมือง พื้นที่รับผิดชอบของศูนย์บริการสาธารณสุขของเทศบาลเมืองชัยภูมิ ระยะที่ 2  ปฏิบัติการ

                  โดยมีพยาบาลผู้จัดการรายกรณี พัฒนารูปแบบการดูแลต่อเนื่องผู้ป่วยระยะกลางของเครือข่ายบริการสุขภาพ
                  อ าเภอเมืองชัยภูมิ ประกอบด้วย 1) การแจ้งเตือนการมีผู้ป่วย IMC ให้กับทีมสหสาขาวิชาชีพผ่าน Line Alert

                  IMC 2) การส่งต่อและสื่อสารข้อมูลผู้ป่วยผ่าน Line application, HosXP, KPHIS, Thai COC  3)ทีมสหสาขา
                  วิชาชีพติดตามเยี่ยมบ้านตามโซนที่รับผิดชอบ 4) พยาบาลผู้จัดการรายกรณีติดตามผลการประเมิน BI ผู้ป่วย

                  ผลการพัฒนามีรายละเอียดดังนี้

                  ตารางที่ 1 ผลการดูแลต่อเนื่องผู้ป่วยระยะกลางในเขตอ าเภอเมืองชัยภูมิ จนครบ 6 เดือน

                         ระยะเวลา           จ านวน   BI=20    BI 12-    BI<11  เสียชีวิต    ย้าย    PC       ติดต่อ

                                           ทั้งหมด  (ราย)       19       (ราย)    (ราย)    (ราย)    (ราย)    ไม่ได้
                                                               (ราย)

                   ก่อนการพัฒนารูปแบบ        222      69        53        43       37        9       2        9

                      (เม.ย.65-มี.ค.66)             (31.1%)  (23.9%)  (19.4%)  (16.7%)  (4.1%)  (0.9%)  (4.1%)
                (ครบ6เดือนในปีงบ2566 ต.ค.

                        65-ก.ย66)
                   หลังการพัฒนารูปแบบ        101      45        20        20        9        2       0        0

                      (เม.ย.66-ก.ย.66)              (44.6%)  (19.8%)  (19.8%)  (8.9%)  (2.0%)

                (ครบ6เดือนในปีงบ2567
                ต.ค66-มี.ค67)


                  อภิปรายผล การพัฒนารูปแบบการดูแลต่อเนื่องโดยการมีผู้จัดการรายกรณีท าให้มีการก ากับ ติดตาม
                  ประเมินผล รวมทั้งมีแนวทางเสริมสร้างการฟื้นฟูสภาพการดูแลอย่างต่อเนื่องท าให้มีรูปแบบการดูแลที่ชัดเจน

                  ขึ้นมีการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลและภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน มีการด าเนินงานตามมาตรฐาน ได้รับการดูแล
                  ต่อเนื่องในชุมชน การส่งต่อข้อมูลปัญหาที่ต้องติดตามในเวลาที่เหมาะสม ผลการติดตามผู้ป่วย IMC
                  ปีงบประมาณ 2566ก่อนการพัฒนารูปแบบพบว่า BI=20 ร้อยละ 31.0, BI 12-19 ร้อยละ 23.9, BI <11 มี

                  ภาวะพึ่งพิงร้อยละ 19.4, เสียชีวิตร้อยละ 16.7 ในปีงบประมาณ 2567 หลังพัฒนารูปแบบติดตามผู้ป่วยได้ทุก
                  ราย โดย BI=20 มีอัตราเพิ่มขึ้น ร้อยละ 44.6, BI 12-19 และ BI <11 ร้อยละ 19.8, อัตราเสียชีวิตลดลงร้อยละ
                  8.9 พบว่าส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุที่มีโรคประจ าตัวโอกาสในการฟื้นฟูสภาพจ ากัดตั้งแต่แรก

                  สรุปและข้อเสนอแนะ

                         การพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยระยะกลางโดยการมีส่วนร่วมของทีมสหวิชาชีพและภาคีเครือข่ายใน
                  ชุมชน ท าให้ผู้ป่วยได้รับการฟื้นฟูสภาพเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ผู้ป่วยมี ค่าBIเต็ม20คะแนนมีอัตราเพิ่มขึ้นและการ
                  เสียชีวิตมีอัตราลดลง
                         ข้อเสนอแนะ ควรมีการน าเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในระบบรายงาน Dashboard แสดงผลและ

                  วิเคราะห์ผลการด าเนินงานแบบ real time
   560   561   562   563   564   565   566   567   568   569   570