Page 563 - Best practice_Oral2024 (อัพเดต)
P. 563
O38
ผลการศึกษา
จาการพัฒนาระบบการให้บริการ มีผลลัพธ์ ดังนี ปีงบประมาณ 2563 – 2567 (2 ไตรมาส)
1. อัตราผู้ป่วยได้รับการดูแลตามเกณฑ์ ร้อยละ 83.33, 91.84, 96.97, 100 และ 100
2. อัตราผู้ป่วย มีผลลัพธ์การฟื้นฟูดีขึ น อย่างน้อย 1 ระดับ (ADL เพิ่มขึ น คิด ADL ที่ 100 คะแนน) ร้อยละ
79.17, 83.33, 81.25, 91.66 และ 90.91
3. ผู้ป่วยระยะกึ่งเฉียบพลันอาการดีขึ นตามเป้าหมายร้อยละ 76, 80, 84.38, 86.36 และ 90.91
4. อุบัติการณ์ผู้ป่วยไม่มีภาวะแทรกซ้อน (แผลกดทับ ติดเชื อทางเดินปัสสาวะ และปอดติดเชื อ) ร้อยละ 86.96,
91.43, 87.49, 95.83 และ 100
อภิปรายผล
จากผลการด่าเนินงานการพัฒนาระบบบริการ IMC ในชุมชนโดยภาคีเครือข่ายในรูปแบบ IMC WNK
Team พบว่าแนวโน้มการเข้าถึงการบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ผลลัพธ์การดูแลทางคลินิก มีแนวโน้มดีขึ น และที่
ส่าคัญคือภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยมีแนวโน้มลดลง ซึ่งการที่ผู้ป่วยได้รับการดูแลต่อเนื่องโดยทีมสหวิชาชีพ
รวมถึงการติดตามของ อปท. โดยเฉพาะในด้านสวัสดิการสังคม เป็นสิ่งที่ท่าให้ผู้ป่วยผู้ดูแลไม่ได้รู้สึกโดดเดี่ยว
แต่กลับเป็นจุดเปลี่ยนมุมมองการดูจาก ภาระ สู่พลัง ซึ่งมีทีมสหวิชาชีพ และ อสม.คอยให้ค่าแนะน่า ติดตาม
ดูแล ดังนั นหากพื นที่มีความเข้มแข็งยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง และน่าความรู้ทางด้านวิชาการมาออกแบบระบบ
จะเป็นประโยชน์ต่อประชาชนอย่างยิ่ง
สรุปและข้อเสนอแนะ
การท่างานโดยภาคีเครือข่าย การน่าเทคโนโลยีมาปรับใช้การพัฒนาระบบ การทบทวนปัญหาอย่าง
ต่อเนื่อง โดยใช้บริบทของพื นที่ และที่ส่าคัญคือการฟังเสียงความต้องการของผู้ป่วย ญาติ และผู้ที่มีส่วน
เกี่ยวข้อง จะท่าให้ระบบบริการสามารถพัฒนาไปได้อย่างดี ผู้ป่วยสามารถเข้าถึงระบบบริการได้มากขึ น ส่งผล
ให้ผู้ป่วยสามารถช่วยเหลือตัวเองได้มากขึ น และมีภาวะแทรกซ้อนที่ลดลง
ดังนั น การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยระยะกึ่งเฉียบพลัน จ่าเป็นจะต้องมีแผนการรองรับที่ส่าคัญอย่าง
ยิ่งประกอบด้วย
1. การมีนโยบายขับเคลื่อนผ่าน พชอ. พชต.
2. การออกแบบระบบบริการที่ให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม เพื่อพัฒนาระบบการส่งเสริมป้องกันสุขภาพ
ของประชาชน เพื่อลดการเกิดโรคหลอดเลือดสมองในกลุ่มเสี่ยง ลดภาวะการหกล้มในผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นสาเหตุ
ท่าให้เกิดกระดูกสะโพกหัก หรือเลือดคั่งในสมอง และที่ส่าคัญคือ
3. การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศให้สามารถน่ามาใช้ประโยชน์และมีความปลอดภัย เพื่อจะท่าให้
การพัฒนาระบบบริการมีความต่อเนื่องในอนาคต และลดภาระงานของผู้รับผิดชอบ