Page 57 - Best practice_Oral2024 (อัพเดต)
P. 57

A18


                  วิธีการดำเนินการ

                           การพัฒนาคุณภาพการพัฒนาศักยภาพบุคลากรในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว (Heart
                  Failure( มีดังนี้
                           (ระยะที่ 1 : 2556-2560( มีการทบทวนสถานการณ์และนโยบาย สังเกตสัมภาษณ์พยาบาลวิชาชีพ
                  ที่ดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว พบว่าไม่มีคลินิกเฉพาะในการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวในทุกโรงพยาบาล

                  ได้มีการพัฒนา
                           1( พัฒนาศักยภาพ เตรียมทีมเพื่อเปิดให้บริการ Heart Failure Clinic โรงพยาบาลระดับ A
                               2( ประชุมเชิงปฏิบัติการในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว A-F2
                  ผลลัพธ์การพัฒนาระยะที่ 1 พบว่า โรงพยาบาลขอนแก่น เปิดให้บริการ Heart Failure Clinic ได้ ดูแลด้วย

                  ทีมสหสาขาวิชาชีพ ประเมินคุณภาพชีวิตผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวในคลินิกอยู่ในเกณฑ์ดี
                           (ระยะที่ 2 : 2560-2564( จากการวิเคราะห์พบว่า ทีมโรงพยาบาล ระดับ M มีอายุรแพทย์ ยังขาด
                  ความมั่นใจในการขยายการบริการ ได้มีการพัฒนา

                           1( ประชุมเชิงปฏิบัติการในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว A-F2 และมีพยาบาลรายกรณี
                           2( มีแนวทางการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว
                           3) มีคู่มือการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว
                           4( แผ่นพลิกการสอนผู้ป่วยและญาติผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว
                  ผลลัพธ์การพัฒนาระยะที่ 2 พบว่า รพ.กาฬสินธ์ และโรงพยาบาลร้อยเอ็ด  รพ.ชุมแพ เปิดให้บริการ Heart

                  Failure Clinic
                            (ระยะที่ 3 : 2565-2566( จากผลการดำเนินการระยะที่ 2 ได้นำมาวิเคราะห์ ได้มีการพัฒนา
                               1( ประชุมเชิงปฏิบัติการในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว A-F2 และมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

                  จากทีมที่สามารถเปิดบริการ Heart Failure Clinic ได้
                           2) ให้โรงพยาบาลระดับ S แต่ละจังหวัด เป็นพี่เลี่ยงโรงพยาบาลระดับ M เพื่อเปิดให้บริการ Heart
                  Failure Clinic
                           3( จัดทำแนวทางการส่งต่อเพื่อทำ ECH

                           4( สร้างเครือข่ายระบบให้คำปรึกษาผ่าน line group
                           5) จัดทำคู่มือผู้ป่วยมีภาวะหัวใจล้มเหลว
                  ผลลัพธ์การพัฒนาระยะที่ 3 พบว่า โรงพยาบาลระดับ S- M มีศักยภาพในการเปิดให้บริการ Heart Failure
                  Clinic เพิ่มขึ้น 9 แห่ง


                  ผลลัพธ์การพัฒนา

                          ระยะที่พัฒนา                                   ผลลัพธ์ที่ได้

                   ระยะที่ 1                   เปิดให้บริการ  Heart Failure Clinic   1 แห่ง  รพ. ขอนแก่น
                   ระยะที่ 2                   1. เปิดให้บริการ  Heart Failure Clinic   เพิ่ม  3  แห่ง
                                                  โรงพยาบาลกาฬสินธุ์ โรงพยาบาลร้อยเอ็ด และโรงพยาบาลชุมแพ

                                               2. มีแนวทางการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว
                                               3. มีคู่มือการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว/คู่มือผู้ป่วย
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62