Page 58 - Best practice_Oral2024 (อัพเดต)
P. 58
A19
ระยะที่พัฒนา ผลลัพธ์ที่ได้
4. แผ่นพลิกการสอนผู้ป่วยและญาติผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว
5. มีพยาบาลรายกรณี
ระยะที่ 3 1. เปิดให้บริการ Heart Failure Clinic เพิ่ม 9 แห่ง
1) โรงพยาบาลมหาสารคาม 2) โรงพยาบาลพล
3) โรงพยาบาลเสลภูมิ 4) โรงพยาบาลเกษตรวิสัย
5) โรงพยาบาลโพนทอง 6) โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชกุฉินารายณ์
7) โรงพยาบาลยางตลาด 8) โรงพยาบาลโกสุมพิสัย
9) โรงพยาบาลบรบือ
เปิดให้บริการ Heart Failure Clinic รวม 13 แห่ง คิดเป็น ร้อยละ 59
2. มีการติดตามนิเทศ/ระบบพี่เลี่ยง
3. อัตราตายผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวในเขตฯ 7 มีอัตราตายน้อยสุด
ในประเทศปี 2566 ร้อยละ 5.5
แผนพัฒนาต่อ
1) เปิดให้บริการ Heart Failure
Clinic ครบ 100% (อีก 9 แห่ง)
ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ
1) ควรมีโปรแกรมส่งเสริมการจัดการตนเองในผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวเพื่อให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดี
2) ผู้บริหารควรมีการสนับสนุนเพื่อพัฒนาบุคลากรด้านความเชี่ยวชาญ เฉพาะสาขา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
การพยาบาลเฉพาะทางสาขาโรคหัวใจและทรวงอก เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดูแลผู้ป่วย
3) ควรมีการคัดกรองผู้ป่วยในเชิงรุก เพื่อนำเข้าสู่การดูแลใน Heart Failure Clinic