Page 582 - Best practice_Oral2024 (อัพเดต)
P. 582

P13

                  ทางเดินน้ำดีและตับอ่อน (ERCP: Endoscopic Retrograde Cholangio-Pancreatography) ห้องผ่าตัด
                  โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชปัว จังหวัดน่าน ให้สามารถรองรับผู้ป่วยโรคนิ่วในถุงน้ำดีให้มีความปลอดภัย

                  ได้มาตรฐาน

                  วัตถุประสงค์การวิจัย
                         เพื่อศึกษาผลการพัฒนาคุณภาพการให้บริการการส่องกล้องตรวจทางเดินน้ำดีและตับอ่อน (ERCP :
                  Endoscopic Retrograde Cholangio Pancreatography) ห้องผ่าตัด โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชปัว

                  จังหวัดน่านเป็นอย่างไร
                  วิธีการวิจัย

                         เป็นการวิจัยและพัฒนาเพื่อศึกษาผลการพัฒนาคุณภาพการให้บริการการส่องกล้องตรวจทางเดินน้ำดี
                  และตับอ่อน (ERCP : Endoscopic Retrograde Cholangio-Pancreatography) ห้องผ่าตัดโรงพยาบาล
                  สมเด็จพระยุพราชปัว จังหวัดน่าน โดยใช้แนวคิดพัฒนาคุณภาพ PDCA

                         ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ จำแนกเป็น 3 กลุ่ม คือ 1) บุคลากรที่ปฏิบัติงานส่องกล้องตรวจทางเดิน
                  น้ำดีและตับอ่อน (ERCP) เป็นกลุ่มตัวอย่างที่เฉพาะเจาะจง คือ ศัลยแพทย์ 1 คน พยาบาลวิชาชีพ 7 คน และ
                  ผู้ป่วยโรคนิ่วในถุงน้ำดีที่ได้รับการส่องกล้องตรวจทางเดินน้ำดีและตับอ่อน (ERCP) 10 คน 2) ผู้ป่วยที่ได้รับ
                  บริการการส่องกล้องตรวจทางเดินน้ำดีและตับอ่อน (ERCP) 3) บุคลากรทีมพัฒนาคุณภาพบริการ 3 คน
                         เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 2 ประเภท คือ ชุดเครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินการวิจัยและชุดเครื่องมือที่ใช้

                  ในการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยมีการตรวจสอบความชัดเจนของเนื้อหา ความเหมาะสมของเนื้อหา และความคงที่
                  ของเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิพร้อมทั้งมีการพิทักษ์สิทธิ์ของผู้เข้าร่วมวิจัย
                         โดยมีวิธีการเก็บรวมรวมข้อมูลและดำเนินการพัฒนาคุณภาพการให้บริการการส่องกล้องตรวจทางเดิน

                  น้ำดีและตับอ่อน (ERCP) โดยใช้กระบวนการปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่อง PDCA โดยค้นหากระบวนการ
                  ที่ต้องปรับปรุง สร้างทีมงานให้รู้เกี่ยวกับกระบวนการ วิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบัน สาเหตุ วิธีการปรับปรุง
                  วางแผนปรับปรุง นำไปปฏิบัติ ตรวจสอบการปฏิบัติ ดำเนินการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง และนำข้อมูล
                  มาวิเคราะห์

                  ผลการศึกษา

                         - ผลการพัฒนาคุณภาพการให้บริการการส่องกล้องตรวจทางเดินน้ำดีและตับอ่อน (ERCP) ห้องผ่าตัด
                  โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชปัว จังหวัดน่าน พบว่า ไม่พบอุบัติการณ์ความไม่พร้อมของทีมเครื่องมือในการ
                  ให้บริการการส่องกล้องตรวจทางเดินน้ำดีและตับอ่อน (ERCP) เท่ากับ 0
                         - อัตราการให้บริการการส่องกล้องตรวจทางเดินน้ำดีและตับอ่อน (ERCP) เพิ่มขึ้น ในปี 2567

                  LC 38 คน ERCP 35 คน

                                                    สถิติผู้รับบริการ LC & ERCP

                              200
                                                                                         112  96
                              100            33       34       52 42    63  46  61  48
                                     4 0        0        9
                               0
                                     2560    2561     2562     2563     2564     2565     2566

                                                            LC   ERCP

                         - ความพึงพอใจสามารถให้บริการนอกเวลาได้ในระดับมากที่สุดร้อยละ 98

                         - ลดการผ่าตัดแบบเปิดในผู้ป่วยโรคนิ่วในถุงน้ำดีสูงถึง 93 %
                         - สมรรถนะบุคลากรทางการแพทย์มีความเชี่ยวชาญในการช่วยแพทย์ทำหัตถการสูงถึง 91%
   577   578   579   580   581   582   583   584   585   586   587