Page 667 - Best practice_Oral2024 (อัพเดต)
P. 667
R6
ผลการดำเนินงานหรือการประเมินผลการเปลี่ยนแปลง
1. อัตราการเกิดภาวะcompartment syndrome
อัตราการเกิดcompartment syndrome
1
0.8
0.6
0.4
0.2
0 0 0 0 0
ต.ค.65 - ธ.ค.65 ม.ค.66-มี.ค.66 เม.ย.66-มิ.ย.66 ก.ค.66- ก.ย.66
2. จำนวนครั้งของการขยายเฝือกเมื่อพบอาการบวม
จ านวนครั้งของการขยายเฝือกเมื่อพบอาการบวม
15
12
10 10
8
7
5
0
ต.ค.65 - ธ.ค.65 ม.ค.66-มี.ค.66 เม.ย.66-มิ.ย.66 ก.ค.66- ก.ย.66
3. อัตราการใช้แบบประเมิน early warning signs of compartment syndrome
อัตราการใช้แบบประเมิน early warning signs of
compartment syndrome
100 92
78 69 82
50
0
ต.ค.65 - ธ.ค.65 ม.ค.66-มี.ค.66 เม.ย.66-มิ.ย.66 ก.ค.66- ก.ย.66
บทเรียน
1. จากการพัฒนานวัตกรรมพบว่า ไม่เกิด compartment syndrome ในหอผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์ แต่พบ
การเกิดภาวะแทรกซ้อนดังกล่าวในหอผู้ป่วยอื่น จึงควรสร้างความตระหนักในการเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน
ให้ทีมการดูแลในหอผู้ป่วยอื่น โดยการนำนวัตกรรม miracle sky high ไปใช้ซึ่งจะทำให้ลดการเกิด
ภาวะแทรกซ้อนแก่ผู้ป่วยได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
2. การเผยแพร่นวัตกรรมไปหอผู้ป่วยอื่นจะทำให้สามารถพัฒนานวัตกรรมไปสู่ในแบบที่ดีที่สุด
(best version)