Page 142 - Best Practice Poster 2024 (อัพเดต)
P. 142
C17
5. ติดตามผลลัพธ์ของการใช้แนวทางการส่งต่อ (door to refer) ในผู้บาดเจ็บที่ศีรษะระดับรุนแรง
และนำมาปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
แนวทางการส่งต่อ (door to refer) ในผู้บาดเจ็บที่ศีรษะระดับรุนแรง
รูปแบบเดิม รูปแบบใหม่
1. ไม่มีแนวทางการดูแลผู้ป่วยที่สงสัย TraumaticICH 1. มีแนวทางการดูแลผู้ป่วยที่สงสัย TraumaticICH
ในการส่งต่อ (door to refer) ในการส่งต่อ (door to refer
2. การลงรายงานผลเอกซเรย์คอมพิวเตอร์สมอง 2. มีประกันเวลาการลงภาพในระบบ PAC ภายใน
ในระบบ PAC ใช้เวลาประมาณ 20 - 30 นาที 10 นาที และรายงานผล official ภายใน 30 นาที
3. การส่งผู้ป่วยไปเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ ใช้พยาบาล 3. การส่งผู้ป่วยไปเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ ใช้พยาบาล
ส่งต่อเป็นผู้พาไป แผนกอุบัติเหตุและฉุกเฉินเป็นผู้พาไป
4. การติดต่อ refer ต้องรอผล Official 4. การติดต่อ refer แพทย์ผู้ทำการวินิจฉัยดูผลจาก
ระบบ PAC และติดต่อ refer ได้ทันที
ผลการดำเนินงาน
การใช้แนวทางการส่งต่อ (door to refer) ในผู้บาดเจ็บที่ศีรษะระดับรุนแรง เริ่มพัฒนาและนำมาใช้
ตั้งแต่เดือนธันวาคม พ.ศ 2561 สำหรับผู้ป่วย traumatic head injury ที่ไม่มีการบาดเจ็บระบบอื่น มีการ
ประกันเวลา door to ติดต่อ refer 60 นาที
สถิติผู้บาดเจ็บที่ศีรษะระดับรุนแรงที่ได้รับการส่งต่อ door to ติดต่อ refer 60 นาที
ข้อมูล 2562 2563 2564 2565 2566
1. ผู้บาดเจ็บที่ศีรษะระดับรุนแรง (ราย) 16 18 8 12 13
-อุบัติเหตุจราจร (ราย) 13(81.2%) 18(100%) 8(100%) 10(83%% 12(92.3%)
-อุบัติเหตุสาเหตุอื่น (ราย) 3(18.7%) 0 0 2(16.6%) 1(8.3%)
2. ผู้บาดเจ็บที่ศีรษะระดับรุนแรง 10(62.5%) 12(66.6%) 4(50%) 4(33.3%) 4(30.7%)
ที่ไม่มีการบาดเจ็บระบบอื่น (ราย)
- ผู้บาดเจ็บที่ศีรษะระดับรุนแรงที่ไม่มี 10(100%) 12(100%) 4(100%) 4(100%) 4(100%)