Page 293 - Best Practice Poster 2024 (อัพเดต)
P. 293
G5
วิธีการศึกษา กิจกรรมการพัฒนา
รอบวง Plan Do Check Act
1 •งบประมาณ • อสม./ผู้นำชุมชน วิเคราะห์ชุมชน •อสม.บางคนไม่ •ประชุม/
ปี2565 กองทุน •รณรงค์ ข้อตกลงชุมชน สามารถใช้Appได้ ทบทวนการใช้
หลักประกัน •อสม.คัดกรอง โดยใช้ NCD App • บันทึกข้อมูลลงน App
สุขภาพเทศบาล •กลุ่มเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรม Hos-xp เป็นการ •ปรึกษางานITใน
เมืองตาก ทาง Group Line ทำงานซ้ำซ้อน การลดความ
•พื้นที่เป้าหมาย •กลุ่มสงสัยส่งต่อไปวินิจฉัยที่ PCC ซ้ำซ้อนของการ
1ชุมชน •บันทึกข้อมูลลงใน Hos-xp บันทึกข้อมูล
•ส่งออกข้อมูล 43แฟ้ม
2 •พื้นที่เป้าหมาย •อสม.คัดกรองNCDโดยใช้ Tak •ขาดอุปกรณ์ •การจัดตั้ง Digital
ปี2566 3ชุมชน NCD App เครื่องมือ ในการคัด Health Station
•ส่งออกข้อมูล 43แฟ้ม กรอง •การใช้ Line OA
•ขาดการดูแลกลุ่ม ในการดูแลผู้ป่วย
DM ในชุมชน
ป่วยDMในชุมชน
3
ปี2567 • Digital Health Station
กลุ่มดี • Tak NCD Application คัดกรอง/ค้นหา โรค DM/HT/CVD risk
• ระบบการแจ้งเตือนจาก Tak NCD Application
กลุ่มเสี่ยง • ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทาง Group line
• ขึ้นทะเบียนผู้ป่วยDM ในระบบ LINE Official Account
• ให้ความรู้/แจ้งข่าวสารข้อมูลในระบบ LINE Official Account
กลุ่มป่วย
• แจ้งวันนัดแก่ผู้ป่วยเบาหวานในระบบHIS(Hospital Information Systems)
ผลการศึกษา
1.จัดตั้งDigital Health Station ที่ชุมชนตำบลหัวเดียด อำเภอเมือง จังหวัดตาก
อสม.มีความพึงพอใจในการใช้ Digital Health Station 98.70 % ประชาชนมีความพึงพอใจ 82.40 %
2. ประชาชนได้รับการคัดกรองโดยใช้ Tak NCD Application 908 คน (72.74%)
กลุ่มเสี่ยงHT ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 32 คน ไม่มีกลุ่มเสี่ยงกลายเป็นกลุ่มป่วย
กลุ่มเสี่ยงDM ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 45 คน ไม่มีกลุ่มเสี่ยงกลายเป็นกลุ่มป่วย
กลุ่มสงสัยDM 15 คน ได้รับการวินิจฉัยDM 4 คน กลุ่มสงสัยHT 49 คน ได้รับการวินิจฉัยHT 2 คน