Page 319 - Best Practice Poster 2024 (อัพเดต)
P. 319
G31
หมู่บ้าน จำนวน จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ
ครัวเรือน ครัวเรือน ที่พบ ครัวเรือนที่ ครัวเรือนที่ ครัวเรือน ครัวเรือนที่
ทั้งหมด. ที่พบความ ความ ได้สื่อสาร ได้สื่อสารฯ ปรับปรุง ปรับปรุง
เสี่ยงสูง เสี่ยงสูง ฯ แก้ไข แก้ไข
หนองบัว 121 25 20.66 22 88.00 20 90.91
รวม 1,584 174 10.98 153 87.93 135 88.24
อภิปรายผล
1.ครัวเรือนที่พบความเสี่ยงสูงและได้สื่อสารกับหมอครอบครัว ร้อยละ 87.93
2. ครัวเรือนที่ได้สื่อสารกับหมอครอบครัวแล้วจะมีการปรับปรุงแก้ไขร้อยละ 88.24
สรุปและข้อเสนอแนะ
จากผลการศึกษาพบว่าในห้วงฤดูฝนมีครัวเรือนที่มีความเสียงสูงต่อการเกิดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำ
ยุงลาย ร้อยละ 10.98ซึ่งงถือว่า อยู่ในระดับเกินเกณฑ์ หมอครอบครัวได้สื่อสารชุดความรู้กับครัวเรือนที่ที่มี
ความเสียงสูง ร้อยละ 87.93 ทั้งนี้บางส่วนที่ไม่สามารถสื่อสารได้เนื่องจากความพร้อมของผู้สื่อสารและระบบ
อินเตอร์เน็ตไม่พร้อม ครัวเรือนที่มีความเสียงสูง ได้ปรับปรุงแก้ไขหลังจากได้สื่อสารตามคำแนะนำของหมอ
ครอบครัว ร้อยละ 88.24
สรุปได้ว่าหมอครอบครัว มีบทบาทสำคัญในการกระตุ้นให้ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการมี
ส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกของหมู่บ้านเพิ่มมากขึ้นโดยใช้ช่องทางการสื่อสารที่ง่าย
สะดวก รวดเร็ว ทันสมัย
ข้อเสนอแนะ ในระดับชุมชนควรมาตรการเข้มข้นในการลดความเสี่ยงที่จะแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย
ควบคู่ไปกับการดำเนินงานนี้