Page 548 - Best Practice Poster 2024 (อัพเดต)
P. 548
N12
1. ผลการดำเนินงาน Proactive Hospital based Surveillance โรงพยาบาลลำปางปีงบประมาณ 2566
พบปัญหาทั้งหมด 156 ครั้งเรียงตามลำดับดังนี้ 1)เกิดจากยา NSAIDs 2)จากการใช้ยาปฏิชีวนะ 3)ภาวะ
เลือดออกผิดปกติจากยา warfarin 4) MALA 5)ADR จากกัญชา self medication
2. กราฟแสดง ผลการดำเนินงาน Proactive Hospital based Surveillance โรงพยาบาลลำปาง
ปีงบประมาณ 2566 และ ผลการดำเนินงานเปรียบเทียบก่อนและหลังการพัฒนางาน
รายงาน Proactive Hospital based รายงาน Adverse drug event เปรียบเทียบก่อนและ
surveillance โรงพยาบาลล าปาง 2566 หลังการพัฒนางาน Poractive Hospital based
Surveillance
1. NSAIDs
200
2. ยาปฏิชีวนะ 150
17% ครั้ง 100
27% 50
3. ภาวะเลือดออกผิดปกติจาก
11% 0
warfarin ปี 2564 ปี 2565 ปี 2566
4. กัญชาจาก self medication
22% 23% ข้อมูลจาก HPVC 43 36 67
5. ภาวะ Metformin- ข้อมูลจาก ICD10 12 9 89
associated lactic acidosis
รวมรายงานการเกิด 55 45 156
3. พัฒนาระบบ Smart Proactive Lampang Hospital System เชื่อมต่อการเฝ้าระวังความ
ปลอดภัยด้านยาในหน่วยบริการและชุมชนดังนี้
4. พัฒนาแนวทางในการป้องกันและเพิ่มความปลอดภัยด้านยาของผู้ป่วยในชุมชนดังนี้
ปัญหากลุ่ม Adverse drug event พัฒนาแนวทางการแก้ไขปัญหา
1. NSAIDs ให้ความรู้แก่ประชาชน RDU Literacy โดยขับเคลื่อนผ่าน RDU Community
2. ยาปฏิชีวนะ ให้ความรู้แก่ประชาชน RDU Literacy โดยขับเคลื่อนผ่าน RDU Community
3. ภาวะเลือดออกผิดปกติจากยา warfarin สาเหตุจากชุมชน ให้ความรู้แก่ประชาชน RDU Literacy โดยขับเคลื่อนผ่าน RDU Community คลินิก warfarin ในโรงพยาบาล
4. กัญชาจากการ self medication ให้ความรู้แก่ประชาชน RDU Literacy โดยขับเคลื่อนผ่าน RDU Community
5. ภาวะ Metformin-associated lactic acidosis จัดท าแนวทางป้องกัน MALA ในจังหวัดล าปาง , พัฒนาแนวทาง Sick protocol โรงพยาบาลล าปาง
อภิปรายผล
1. การพัฒนางานทำให้ทราบถึงปัญหาของประชาชนในชุมชนอำเภอเมืองในจังหวัดลำปาง และ
ทำให้ได้ข้อมูลรายงานการเกิด ADR เพิ่มขึ้นมากเมื่อเปรียบเทียบระหว่างก่อนพัฒนาคิดเป็นร้อยละ 246
2. ปัญหาของประชาชนในชุมชนเขตอำเภอเมืองลำปางที่ได้จากการพัฒนางานพบว่า