Page 634 - Best Practice Poster 2024 (อัพเดต)
P. 634
P11
กรอบแนวคิด
Input Process Outcome
ผู้ป่วยแผลเรื้อรัง -ท ำแผลแบบadvance 1. Epithelialization
2. การติดเชื้อ
แผลเบาหวาน แผลกดทับ แผลจาก dressingและ 3.ระยะเวลาเฉลี่ยรวมตั้งแต่
ความผิดปกติของเส้นเลือด แผลเนื้อเน่า -เพิ่มTake cold air รักษาแผลจนแผลหาย
คุณสมบัติ plasma วันจันทร์ พุธ ศุกร์ 4. ภาวะแทรกซ้อนจากการใช้
-ทำแผลแบบ advance dressing และ Cold air plasma:เนื้อเยื่อ
-แผลคงเดิมไม่แคบเข้าในเวลา>2เดือน ไหม้,ปวดและอื่นๆ
ระยะเวลาดำเนินการศึกษา ธันวาคม 2563 - มีนาคม 2565(รหัส EC คือ LPN059/2563)
ผลการศึกษา
กลุ่มตัวอย่างแผลเรื้อรังพบว่าเป็นแผลเบาหวานร้อยละ28.57 แผลเนื้อเน่าร้อยละ59.52 แผลกดทับ
ร้อยละ7.15 แผลจากความผิดปกติของเส้นเลือดร้อยละ4.76
ตารางที่ 1 แสดงการเกิด Epithelialization
Std
หัวข้อ n X S.D. Error t-test 95%Cl P-value
Mean
-Epithelialization 1.2 0.19 -32.50 -6.40- <0.05
ก่อนการพัฒนา 42 0.13 5.65
หลังการพัฒนา 42 6.16
จากตารางแสดงให้เห็นว่าแผลแคบลงเร็วกว่าก่อนพัฒนาโดยพบว่าเฉลี่ยแคบลง6.16 cm./2เดือนหรือ
เฉลี่ยแคบลง 3.13 cm เปรียบเทียบกับก่อนการรักษาเสริมโดยใช้สถิติ Pair T test พบว่าแตกต่างกันอย่างมี
นัยสำคัญทางสถิติที่ค่า P-value<0.05
ตารางที่ 2 แสดงผลการรักษาเสริมด้วยพล่าสมาอากาศเย็นต่อการติดเชื้อ ระยะเวลาเฉลี่ยรวมตั้งแต่
รักษาแผลจนแผลหาย ภาวะแทรกซ้อนจากการใช้Cold air plasmaได้แก่เนื้อเยื่อไหม้ อาการปวด อื่น ๆ
คือ กลิ่นเหม็นคาวโอโซน (n=42)
หัวข้อ ก่อนการพัฒนา (n=42) หลังการพัฒนา(n=42)
-การติดเชื้อ 0(0) 0(0)
-ระยะเวลาเฉลี่ยรวมตั้งแต่รักษาแผลจนแผลหาย 182 วัน 71 วัน
-ภาวะแทรกซ้อนจากการใช้Cold air plasma:
เนื้อเยื่อไหม้, 0(0)
ปวด 0 (pain score=0)
อื่นๆได้แก่กลิ่นเหม็นคาว 16 ราย (ร้อยละ 38.09)