Page 659 - Best Practice Poster 2024 (อัพเดต)
P. 659

P36

                  ช.ม./ราย และเมื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของระยะเวลาฯ พบว่า การส่องกล้องลำไส้ใหญ่แบบวันเดียวกลับ
                  มีค่าเฉลี่ยของระยะเวลาฯ ต่ำกว่าแบบเดิมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 4) ค่าเฉลี่ยคะแนน
                  ความพึงพอใจทั้งของผู้ใช้รูปแบบบริการฯ และผู้ป่วยโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (Mean= 4.85, SD.=.35;
                  Mean= 4.65, SD.=.48 ตามลำดับ)

                         4. คะแนนประสิทธิผลของรูปแบบบริการฯ โดยรวมคิดเป็นร้อยละ 90.32

                  อภิปรายผล
                         รูปแบบบริการผู้ป่วยที่ได้รับการส่องกล้องตรวจลำไส้ใหญ่แบบวันเดียวกลับที่พัฒนาขึ้น เป็นการ
                  ดำเนินการที่เป็นไปตามมาตรฐาน เกิดผลลัพธ์การรักษาที่ปลอดภัย ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน มีความเป็นไปได้

                  ในทางปฏิบัติ อีกทั้งช่วยลดค่าใช้จ่าย ลดระยะเวลาการรักษา ผู้ให้บริการและผู้รับบริการพึงพอใจ
                  สรุปและข้อเสนอแนะ

                         การพัฒนารูปแบบบริการผู้ป่วยที่ได้รับการส่องกล้องตรวจลำไส้ใหญ่แบบวันเดียวกลับ เป็นการ
                  ดำเนินงานที่สอดคล้องกับการพัฒนาระบบบริการ (Service plan) กระทรวงสาธารณสุข สาขาการผ่าตัด
                  แบบวันเดียวกลับ (One Day Surgery: ODS) ซึ่งพัฒนาวิธีการทำงานให้ดีขึ้นกว่าเดิมตามยุคสมัยที่มีความ

                  เจริญขึ้น โดยเฉพาะการลดขั้นตอน ลดแออัด ลดรอคอย สร้างความพึงพอใจ การพัฒนารูปแบบบริการฯ
                  ดังกล่าว จึงเป็นการเพิ่มคุณค่าให้กับกระบวนดูแลผู้ป่วยอย่างแท้จริง อย่างไรก็ตาม ในโอกาสต่อไปควรขยายผล
                  ไปยังชุมชนโดยเฉพาะในผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัว การให้คำปรึกษาและการติดตามเยี่ยมหลังจำหน่าย

                  เอกสารอ้างอิง
                  1. กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. (2566).ข้อเสนอแนะด้านการพัฒนาระบบบริการผ่าตัดแบบวันเดียว

                  กลับและการผ่าตัดแผลเล็ก (ODS&MIS) ปี 2566. กองวิชาการแพทย์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข.
                  บริษัท จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์ จำกัด.
                  2. กลุ่มงานการพยาบาลผู้ป่วยห้องผ่าตัด โรงพยาบาลกาฬสินธุ์. รายงานผลการดำเนินงานประจำปี กลุ่มงาน
                  การพยาบาลผู้ป่วยห้องผ่าตัด โรงพยาบาลกาฬสินธุ์ .2566.

                  3. สุภางค์ จันทวานิช) .2543).  การวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพสำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์  : กรุงเทพฯ   .
                  . มหาวิทยาลัย
                  4. สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. (2556).
                  การประเมินคุณภาพแนวทางปฏิบัติสำหรับการวิจัยและการประเมินผล (Appraisal of Guideline for

                  Research & Evaluation II; AGREE II). กรุงเทพฯ: สำนักงานโครงการ AGREE II
   654   655   656   657   658   659   660   661   662   663   664