Page 714 - Best Practice Poster 2024 (อัพเดต)
P. 714

Q26


                  สมองกับชนิดของยา ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ(p=0.4856) ปัจจัยของช่วงอายุ (น้อยกว่า 55 ปี
                  56-70 ปี และ71 ปีขึ้นไป) ต่อการได้รับยาแตกต่างกัน ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ(p=0.0438) โรคไม่
                  ติดต่อเรื้อรังต่อโรคหลอดเลือดหัวใจและสมองและชนิดของยารักษาโควิด 19 ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ

                  ทางสถิติ(p=0.3296)
                         ตารางที่ 1 แสดงปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อเกิดโรคหลอดเลือดหลังติดเชื้อโควิด 19 หลังได้รับยาโควิด 19
                  ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ของยารักษาโควิด 19           Odd Ratio      95%Confidence         p-value
                  ต่อการเกิดโรคหลอดเลือด(N=95)                                           Interval

                  - ยารักษาโควิด 19 ต่อโรคหลอดเลือดหัวใจและสมอง      -0.0892601  -0.2381295 - 0.0596092   0.237
                                                                                                                 b
                  - การมีอายุมากกว่า71ปีขึ้นไปต่อการมีโรคประจำตัว     0.7229912  0.5181166  -0.9278659        0.001 b
                  มากกว่า2โรคขึ้นไป                                                                           b
                  -การมีอายุมากกว่า71ปีขึ้นไปต่อโรคหลอดเลือดหัวใจและ  0.4662689  0.1935706-0.7389672    0.001
                                                                                                                b
                  สมอง

                                    a
                                                       b
                                                                                   c
                         หมายเหตุ     Kruskal willis test,   Multiple logistic regression,   Chi-square test
                  อภิปรายผล
                         จากการศึกษาในด้านปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการใช้ยาโควิดต่อเกิดโรคหลอดเลือดหลังติดเชื้อโควิด
                  19 พบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์สูงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจและสมอง คือ อายุมากกว่า 71  ปี การมี

                  โรคไม่ติดต่อเรื้อรังมากกว่า 2 มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value<0.001) โดยใช้การวิเคราะห์
                  ส่วนยารักษาโควิด 19 อาจไม่ใช่สาเหตุของการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจและสมอง อย่างไม่แตกต่างอย่างมี
                  นัยสำคัญทางสถิติ(p=0.237)โดยใช้สถิติ Multiple Logistic Regression การศึกษาพบว่า ผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็น
                  เพศหญิง อายุเฉลี่ย 69 ปี มีจำนวนวันอุบัติการณ์ของการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจและสมองหลังการติดเชื้อโค

                  วิด 19 เฉลี่ย  189 วัน ผู้ป่วยโควิด 19 และเป็นโรคหลอดเลือดส่วนใหญ่ได้รับยา Favipiravir ร้อยละ 76.84
                  และ Molnupiravir ร้อยละ 21.05 เมื่อเปรียบเทียบข้อมูลพื้นฐานของผู้ป่วยปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการเกิด
                  โรคหลอดเลือดหัวใจและสมอง ได้แก่ เพศ ของผู้ป่วยหลอดเลือดหัวใจและสมองกับชนิดของยา ไม่แตกต่างกัน
                  อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ(p=0.4856) ปัจจัยของช่วงอายุ (น้อยกว่า 55 ปี 56-70 ปี และ71 ปีขึ้นไป) ต่อการ

                  ได้รับยาแตกต่างกัน ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ(p=0.0438) โรคไม่ติดต่อเรื้อรังต่อโรคหลอดเลือด
                  หัวใจและสมองและชนิดของยารักษาโควิด 19 ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ(p=0.3296) โดยพบว่า
                  การการใช้ยา Molnupiravir และ Favipiravir ในสูงอายุมากกว่า 71 ปี และการมีโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมากกว่า

                  2 โรคขึ้นไปมีแนวโน้มสูงขึ้น มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ(p=0.001)  แต่ยารักษาโควิด 19 อาจ
                  ไม่ใช่เป็นสาเหตุของการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจหรือสมอง ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ(p=0.237)

                  สรุปและข้อเสนอแนะ
                         ผลการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหลังติดเชื้อโควิด 19
                  พบว่า กลุ่มคนไข้ที่มีอายุมากกว่า 71 ปี มีโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมากกว่า 2 ชนิด (p-value<0.001)  มีความ

                  จำเป็นต้องติดตามเฝ้าระวังการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจและสมอง โดยยารักษาโควิด 19 อาจไม่ใช่สาเหตุของ
                  การเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจและสมอง(p=0.237) อย่างไรก็ตาม การศึกษาในครั้งนี้ควรติดตามข้อมูลด้าน
                  จำนวน และชนิดของวัคซีนที่อาจส่งผลต่ออุบัติการณ์การเกิดโรคหลอดเลือดสมองและหัวใจเพิ่มเติม และ
                  การศึกษาครั้งทำการศึกษาในโรงพยาบาลชุมชนขนาดเล็ก การนำผลการศึกษาไปอ้างอิงหรือการวิจัยต่อควรทำ
                  ด้วยความระมัดระวัง
   709   710   711   712   713   714   715   716   717   718   719