Page 751 - Best Practice Poster 2024 (อัพเดต)
P. 751

S6

                  ตารางที่ 3 Compare utility scores for health dimensions, direct health, and symptom levels.

                  (n=122)

                  Follow up on treatment         Day 0           Day 7          Day 14         Friedman  p-value*
                                                                                               ᵡ
                                                                                                2
                  1. Utility                     0.79            0.76           0.72           0.293    P=0.864
                  Median (Interquartile range)   (0.55-1.00)      (0.57-1.00)    (0.61-1.00)
                  Average ± Standard Deviation   0.69 + 0.36     0.67 + 0.35    0.68 + 0.34
                  Average of Mean rank           1.99            2.03           1.98
                  2. Direct health (VAS)         80              80             80             9.155    P=0.010*
                  Median (Interquartile range)   (70-88)         (70-88)        (70-90)

                  Average ± Standard Deviation   74.39 + 18.20   75.11 + 17.15   75.41 + 16.53
                  Average of Mean rank           1.84            2.04           2.12
                  3. Palliative Performance Score (PPS)
                  Median (Interquartile range)   80  (60-90)     80 (60-90)     70 (60-90)     0.674    P=0.714
                  Average ± Standard Deviation   70.08 + 20.26   69.84 + 19.87   69.26 + 20.61
                  Average of Mean rank           2.02            2.03           1.95
                  * statistically significant difference (Friedman test)

                  อภิปรายผล
                         จากข้อมูลประสิทธิผลที่เพิ่มคุณภาพชีวิตและมีความปลอดภัย อาจพิจารณาใช้น้ำมันกัญชาขมิ้นทอง
                  เป็นยาทางเลือกของผู้ป่วยที่ตัดสินใจร่วมกับบุคลากรทางการแพทย์ เพื่อเป้าหมายการรักษาคือเพิ่มคุณภาพ
                  ชีวิตของผู้ป่วยระยะประคับประคอง

                  สรุปและข้อเสนอแนะ

                         น้ำมันกัญชาขมิ้นทอง เพิ่มคุณภาพการนอนหลับ บรรเทาอาการปวด และทำให้ผู้ป่วยรับประทาน
                  อาหารได้เพิ่มขึ้น 1. ควรมีงานวิจัยต่อเนื่องที่ศึกษาการใช้น้ำมันกัญชาขมิ้นทองในผู้ป่วยประคับประคอง โดย
                  วัดผลของอาการนอนไม่หลับ อาการปวด เบื่ออาหาร ที่มีเครื่องมือวัดเฉพาะที่ได้มาตรฐาน โดยเพิ่มขนาดยา
                  หรือเพิ่มความถี่ในการบริหารยาเพื่อให้ได้ประสิทธิผลของยามากขึ้น
                  2. ควรขยายระยะเวลาการติดตามผู้ป่วย เพิ่มขนาดประชากรที่ศึกษา และมีกลุ่มควบคุมเพื่อลดปัจจัยกวน

                  ที่มีผลต่อคุณภาพชีวิต
   746   747   748   749   750   751   752   753   754   755   756