Page 86 - Best Practice Poster 2024 (อัพเดต)
P. 86
B14
ขั้นตอนที่ 4 การประเมินผลการใช้แนวปฏิบัติ
รูปภาพการเผยแพร่ข้อมูลการใช้แนวปฏิบัติ
ผลการศึกษา
ประเมินผลลัพธ์จากผู้ป่วยโดยรวบรวมข้อมูลดังนี้
- เปรียบเทียบอัตราการเกิดและความรุนแรงของเยื่อบุช่องปากอักเสบระหว่างก่อนการใช้แนวปฏิบัติและหลัง
การใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกเพื่อป้องกันภาวะเยื่อบุช่องปากอักเสบ
ร้อยละการเกิดภาวะเยื่อบุช่องปากอักเสบ
100% 0 5.55%
0 0
20% 38.88%
40%
50% 40% 55.55%
0% 0
ก่อนการใช้แนวปฏิบัติ(n = 5) ผลลัพธ์หลังการใช้แนวปฏิบัติจ านวน (n =
18)
ไม่เกิด oral mocositis Gr 1 Gr 2 Gr 3 Gr 4
**หมายเหตุ จากกราฟแสดงถึงร้อยละอัตราการเกิดภาวะเยื่อบุช่องปากอักเสบจากการเปรียบเทียบกับอัตรา
การเกิดเยื่อบุช่องปากอักเสบก่อนการใช้แนวปฏิบัติพบอัตราการเกิดภาวะเยื่อบุช่องปากอักเสบ 100% กับ
อัตราการเกิดเยื่อบุช่องปากอักเสบหลังการใช้แนวปฏิบัติพบว่าอัตราการเกิดภาวะเยื่อบุช่องปากอักเสบ
44.44% อัตราการเกิดเยื่อบุช่องปากลดลง 55.55% หลังจากผู้ป่วยได้การใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกเพื่อป้องกัน
ภาวะเยื่อบุช่องปากอักเสบ
- เปรียบเทียบช่วงเวลาที่เกิดของเยื่อบุช่องปากอักเสบโดยค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานช่วงเวลา
ที่เกิดภาวะเยื่อบุช่องปากอักเสบระหว่างก่อนการใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกและหลังการใช้แนวปฏิบัติทางคลินิก