Page 33 - E-book_ HTT2(1)
P. 33

ชื่อเรื่อง   การสร้างสมดุลร่างกายกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เหมาะสม
                                               ุ
                  วิทยากร  ผศ.ดร.ประสิทธิ์ ปีประทม และคณะ
                  วันที่/สถานที่  วันที่ 25 มกราคม 2567 ณ โรงแรมเดอะบลูสกาย รีสอร์ท จังหวัดเพชรบูรณ์

                  สรุปสาระส าคัญจากการเรียนรู้
                     1. หลักการเสริมสร้างสมรรถภาพร่างกาย

                            การออกก าลังกายควรเริ่มออกก าลังกายจากน้อยไปมาก จากเบาไปหาหนัก และท าอย่างเป็นประจ า
                  สม่ าเสมอ
                            หลักการออกก าลังกาย FITT

                            F (Frequency) = ความถี่ของการออกก าลังกาย ควรออกอย่างน้อย 3 วัน/สัปดาห์ กรณีที่ต้องการ
                  ลดน้ าหนัก ควรออก 6–7 ครั้ง/สัปดาห์ ส าหรับการออกก าลังกายแบบแรงกระแทกต่ า (low/moderate impact
                  aerobic exercise) เช่น การเดิน, ว่ายน้ า, stair climber, step class เป็นต้น
                            I (Intensity) = ความหนักของการออกก าลังกาย ส าหรับผู้ที่ต้องการเผาผลาญไขมัน (fat burning) และ
                  ลดน้ าหนัก (weight reduction) ที่เหมาะสมจะอยู่ในช่วง 55-65% ของชีพจรสูงสุด

                            T (Time) = ระยะเวลาของการออกก าลังกายในแต่ละครั้ง ขึ้นอยู่กับจุดมุ่งหมาย สภาพร่างกาย และ
                  เวลาว่าง ซึ่งระยะเวลาการออกก าลังกายควรออกอย่างน้อย 30 นาที
                            T (Type) = รูปแบบการออกก าลังกาย ขึ้นอยู่กับจุดมุ่งหมาย สภาพร่างกาย และประวัติการบาดเจ็บ ซึ่ง

                  แบ่งเป็น 2 แบบ ได้แก่ แรงกระแทกสูง (high impact exercises) และ แรงกระแทกต่ า (low/moderate impact
                  aerobic exercise)
                    2. การออกก าลังกายที่เหมาะสมกับการลดน้ าหนัก
                           การออกก าลังกายควรมีการก าหนดเป้าหมายให้ชัดเจน การออกก าลังกายสร้างกล้ามเนื้อเพอกระชับ
                                                                                                         ื่
                  จะแบ่งการฝึกออกเป็น 2 แบบ ได้แก  ่
                                                                           ื่
                            1. Weight training/ Strength training เป็นการฝึกเพอพฒนาความแข็งแรงของกล้ามเนื้อต้องใช้
                                                                              ั
                  อุปกรณ์ประเภทบาร์เบลล์ และดัมเบลล์
                                                           ื่
                              2. Resistance training เป็นการฝึกเพอพฒนาสมรรถภาพกล้ามเนื้อ โดยเน้นที่การท างานของกล้ามเนื้อ
                                                              ั
                  และการเคลื่อนไหวของข้อต่อ จึงไม่เน้นอุปกรณ์ แต่จะใช้แรงต้านจากน้ าหนักของร่างกาย
                                  ่
                              ความออนตัว (flexibility) หมายถึง ความสามารถในการเคลื่อนไหวของข้อต่อ การยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อ และ
                                                                ั
                                                   ่
                  เอนกล้ามเนื้อบริเวณข้อต่อ ซึ่งความออนตัวสามารถพฒนาได้โดยการยืดเหยียด โดยจะแบ่งเป็น 4 แบบ ได้แก่
                    ็
                  1. แบบหยุดนิ่งค้างไว้ในจังหวะสุดท้าย (Static Stretching) 2. แบบกระท าเป็นจังหวะ (Ballistic Stretching)
                  3   แบบไดนามิค (Dynamic Stretching   และ 4   แบบกระตุ้นการรับรู้ของระบบประสาทกล้ามเนื้อ
                   .
                                                      )
                                                               .
                  (Proprioceptive Neuromuscular Facilitation: PNF) การที่มีความออนตัวมาก จะช่วยป้องกันการบาดเจ็บ
                                                                               ่
                  เนื่องจากข้อต่อหรือกล้ามเนื้อถกดึงอย่างแรง ลดความตึงของกล้ามเนื้อ และสามารถเคลื่อนไหวได้คล่องขึ้น
                                           ู
                    3. โรคออฟฟิศซินโดรม (Office syndrome) คือ กลุ่มอาการที่เกิดจากการท างานที่ใช้ท่าทางที่ไม่เหมาะสม
                  หรือท าซ้ า ๆ ต่อเนื่องกันเป็นระยะเวลานาน จนท าให้เกิดความผิดปกติขึ้นกับร่างกาย เช่น กระดูกสันหลัง และ
                  กล้ามเนื้อ ซึ่งมักจะเกิดกับกลุ่มคนที่ท างานในออฟฟิศ
                      การป้องกันการเกิดออฟฟศซินโดรม ท าได้โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมท่าทางการท างาน โดยหาเวลาพก
                                                                                                                ั
                                              ิ
                  ระหว่างท างาน บริหารกล้ามเนื้อสร้างความแข็งแรง และยืดเหยียดกล้ามเนื้อที่เกี่ยวข้อง

                                                                                                                   26
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38