Page 49 - E-book_ HTT2(1)
P. 49

สรุปประเด็นการเรียนรู้ วันที่ 28 มีนาคม 2567

                                     ณ โรงแรม อีโค่ โมเม้น บีช รีสอร์ท จังหวัดเพชรบุรี


                  ชื่อเรื่อง  บุคลิกภาพผู้น าและการน าเสนอต่อสาธารณชน
                  วิทยากร  ดร.ปวีณา สงวนชม / ดร.รณพรหม ชุนงาม / อาจารย์ฐิตพร ลิมปิสวัสดิ์ และคณะ

                  วันที่/สถานที่  วันที่ 28 มีนาคม 2567 ณ โรงแรม อีโค่ โมเม้น บีช รีสอร์ท จังหวัดเพชรบุรี

                  สรุปสาระส าคัญจากการเรียนรู้

                                                                                              ื่
                         ผู้น าควรมีบุคลิกภาพที่ดี ซึ่งในการน าเสนอ ผู้น าเสนอต้องท าตัวเองให้มี “ทรง” เพอสร้างความเชื่อมั่นและ
                  ความน่าเชื่อถือ โดยพัฒนาบุคลิกภาพในการน าเสนอ 6 ด้าน ดังนี้
                         1) Stand การจัดท่าทางเพื่อเตรียมความพร้อม
                            ก่อนเริ่มพูด ให้จัดท่าทางของตนเองโดย

                            (1.1)  เปิดไฟ: ยืนอย่างมั่นคง ยืดอก ยืนหลังตรง เพื่อสร้างความมั่นใจ
                            (1.2)  เปิดปุ่ม: การยิ้ม เพื่อสร้างความประทับใจ
                            (1.3)  1 2 lock: ยืนอย่างสง่า เพื่อสร้างบุคลิกภาพที่ดี
                            (1.4)   ลูกบอล “ยกแล้วล็อค”: มือทั้งสองข้างประสานกันหรือวางทับกัน น ามือไว้ด้านหน้าบริเวณเหนือ

                  สะดือ ในกรณีที่มือข้างใดข้างหนึ่งถือไมโครโฟน มืออกข้างหนึ่งให้น ามาไว้ด้านหน้าบริเวณเหนือสะดือเช่นกัน
                                                                ี
                  เพื่อจัดระเบียบร่างกาย ลดการแกว่งมือไปมาระหว่างพูด
                         2) Eye Contact (Look, Lock, Talk)

                            Look มอง จากนั้น Lock ล็อคสายตา และจึง Talk พูด โดยสร้างมิติการมองแบบสามเหลี่ยม ได้แก่ ซ้าย
                  ขวา และกลาง
                         3) Tone (โทนเสียง) สูง กลาง ต่ า
                            เลือกใช้โทนเสียงให้เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ของการสื่อสารในแต่ละประโยค ดังนี้

                              เสียงสูง (Head Tone) ใช้ในกรณีเพื่อดึงดูดความสนใจ ทักทาย หรือตั้งค าถาม
                              เสียงกลาง (Mouse Tone) ใช้ในกรณีเพื่อแนะน า บอกเล่า อธิบายต่าง ๆ

                              เสียงต่ า (Chest Tone) ใช้ในกรณีเพื่อความน่าเชื่อถือ อ านาจ ประเด็น ปัญหา
                         4) จังหวะ
                              จังหวะ “ยืด” เพื่อเน้น

                              จังหวะ “หด” เพื่อท าให้กระชับ
                         5) การหยุด เพื่อท าให้ค าที่ก าลังจะตามมาใหญ่ขึ้น

                         6) ค าฟุ่มเฟือย ระมัดระวังการใช้ค าฟุ่มเฟือย เช่น นะคะ นะครับ แบบว่า เอ่อ แล้วก็ เป็นต้น

                         นอกจากนี้ ได้แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติการออกแบบโครงร่างการน าเสนอ โดยใช้ Precision Pitching Canvas
                  จากนั้นแบ่งส่วนน าเสนอเป็น 3 ส่วน ได้แก่ 1) ส่วนน า: เริ่มต้นการน าเสนอด้วยความน่าสนใจ เช่น การตั้งค าถาม
                                                   ื่
                  เรื่องเล่า หรือการแสดงบทบาทสมมติเพอแสดงสถานการณ์ที่เชื่อมโยงไปสู่การน าเสนอ 2) ส่วนเนื้อหา: เรียงล าดับ
                  ความส าคัญของเนื้อหา เน้นตอนส าคัญ และ 3) ส่วนสรุป: ปิดท้ายด้วยการเน้นหรือสรุปสิ่งที่ต้องการน าเสนอ





                                                                                                                   42
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54