Page 194 - แนวทางการพัฒนาการจัดระบบบริการสุขภาพ
P. 194

คู่มือแนวทางการอบรมหลักสูตรพระคิลานุปัฏฐาก (พระอาสาสมัครส่งเสริมสุขภาพประจำวัด-อสว.)



               สรุป

                      การมีกิจกรรมบริหารกายที่เหมาะสมและเพียงพอของพระสงฆ์เป็นประเด็นความสำคัญ เนื่องจาก
               บริบทของพระสงฆ์ตามกิจของพระสงฆ์และพระวินัย ทำให้พระสงฆ์ต้องสำรวมในที่สาธารณะ ไม่สามารถ
               มีการบริหารกายได้หลากหลายเหมือนชายไทยทั่วไป การมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอโดยคำนึงถึงจริยาวัตรที่งดงาม

               และแนวปฏิบัติที่มีหลักฐานเชิงประจักษ์จึงมีความสำคัญ เพื่อให้เกิดผลดีต่อสุขภาพ และพระสงฆ์ควรมีกิจกรรม
               เนือยนิ่งให้น้อยที่สุด โดยการลุกเดินทุกๆ ๒ ชั่วโมง และให้มีกิจกรรมบริหารกายสะสมให้ได้ไม่น้อยกว่า ๑๕๐ นาทีต่อ
               สัปดาห์ หรือเดิน ๑๐,๐๐๐ ก้าวต่อวัน ร่วมกับการออกกำลังกล้ามเนื้อไม่น้อยกว่า ๒ วันต่อสัปดาห์

                      อย่างไรก็ตาม พระภิกษุแต่ละรูปย่อมมีสมรรถภาพทางกาย โรคประจำตัว และปัญหาสุขภาพที่แตกต่างกัน
               จึงควรได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพ และระดับของกิจกรรมบริหารกายที่ปฏิบัติอยู่ เพื่อเลือกรูปแบบกิจกรรมที่มี
               ความปลอดภัยและการพัฒนาระดับกิจกรรมบริหารกายสำหรับพระภิกษุแต่ละรูป เพื่อส่งเสริมให้พระสงฆ์มีสุขภาพดี

               ลดปัจจัยเสี่ยงที่เป็นสาเหตุของการป่วยและมรณภาพด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังจากพฤติกรรมสุขภาพไม่เหมาะสม

               เอกสารอ้างอิง และแหล่งค้นคว้าเพิ่มเติม :

               เกษม นครเขตต์. ข้อเสนอระดับสากลเพื่อการมีกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพโดย : องค์การอนามัยโลก WHO : Global
                      Recommendations on Physical Activity for Health คัดลอกจาก http://padatabase.net/
                      files/๐๑/doc/๔๗๕_.pdf. ๒๕๖๐.

               กิตติมา วัฒนากมลกุล. ออกกำลังกายอย่างไรดี? จาก http://www.pharmacy.mahidol.ac.th/. ๒๕๖๐.
               กอบกุลกลีบบัว, นพวรรณ เปียซื่อ, นรีมาลย์ นีละไพจิตร, สุกัญญา ตันติประสพลาภ. ผลของโปรแกรมการ
                      ออกกำลังกายแบบแกว่งแขนต่อภาวะโภชนาการในสตรีสูงอายุที่เสี่ยงต่อเมแทบอลิกซินโดรม. วารสาร

                      สภาการพยาบาล (In press). ๒๕๖๑.
               กรมอนามัย. คู่มือการบริหารขันธ์สำหรับพระสงฆ์. กรุงเทพฯ : ศูนย์สื่อและสิ่งพิมพ์แก้วเจ้าจอมมหาวิทยาลัยราชภัฎ-

                      สวนสุนันทา. ๒๕๕๗.
               คณะแพทย์ศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล. การส่งเสริมกิจกรรมทางกาย สำหรับพระสงฆ์.
                      กรุงเทพมหานคร:คณะแพทย์ศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล. ๒๕๖๑.

               เจริญ กระบวนรัตน์. อบอุ่นร่างกาย.สารวิทยาศาสตร์การกีฬา, ๑๕ (๑๖๘), ๗ - ๑๑. ๒๕๕๘.
               เจริญ กระบวนรัตน์. หลักการพิจารณาความหนักที่เหมาะสมในการฝึก.วารสารคณะพลศึกษา มหาวิทยาลัย

                      ศรีนครินทรวิโรฒ, ๑๙ (๒), ๑ - ๑๗. ๒๕๕๙.
               จันทร์ดา บุญประเสริฐ, ศิริรัตน์ ปานอุทัย,โรจนีจินตนาวัฒน์. ผลของการออกกำลังกายแบบหะฐะโยคะต่อ
                      สมรรถภาพทางกายในผู้สูงอายุ. พยาบาลสาร, ๔๓ (๕), ๓๕ - ๔๗. ๒๕๕๙.

               ชุติมา ชลายนเดชะ, วรรธนะ ชลายนเดชะ, สุนีย์ บวรสุนทรชัย, ทิพย์วดี บวรพระจันทร์, และเวทสินี แก้วขันดี
                      หัวข้อกิจกรรมทางกาย: คู่มือการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในชุมชน Thai Physical Activity Guideline
               TPAG. กรุงเทพฯ : คณะกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยมหิดล. ๒๕๕๘.

               สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมิน
                      ภาวะหกล้มในผ้สูงอายุ. กรุงเทพฯ : ซีจี ทูล. ๒๕๔๙.







                                                       ๑๑๘
   189   190   191   192   193   194   195   196   197   198   199