Page 383 - Best practice_Oral2024 (อัพเดต)
P. 383
K16
การวิจัยระยะที่ 1 : - P : ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี บริบท การพัฒนารูปแบบคลินิก
ศึกษาสถานการณ์ เวชศาสตร์วิถีชีวิต
และข้อมูลเบื้องต้น - A : แลกเปลี่ยนเรียนรู้ผู้ให้บริการจัดบริการ / ประเมินวิถี
ชีวิต 6 ด้าน
- O : ทบทวนการจัดบริการคลินิกเวชศาสตร์วิถีชีวิต
- R : แลกเปลี่ยนเรียนรู้ผู้รับบริการผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผู้ที่
ประสบผลสำเร็จ
การวิจัยระยะที่ 2 : - P : นำข้อมูลที่รวบรวมมาจากระยะที่ 1 มาวิเคราะห์
พัฒนารูปแบบการให้บริการ สังเคราะห์เพื่อพัฒนา
รูปแบบบริการคลินิกเวชศาสตร์วิถีชีวิต
- A : จัดรูปแบบให้บริการคลินิกเวชศาสตร์วิถีชีวิต
- O : ทีมแพทย์และคณะกรรมการตรวจสอบความ
เหมาะสม
- R : วิเคราะห์ข้อมูล Case Study แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ปรับ
รูปแบบ
การวิจัยระยะที่ 3 : ทดลองใช้รูปแบบ - P : วางแผนการเก็บข้อมูลบริการจากโปรแกรมที่พัฒนา
การให้บริการคลินิกเวชศาสตร์วิถีชีวิต ในระยะที่ 2
- A : ดำเนินการทดลองใช้รูปแบบโปรแกรมกับ
กลุ่มเป้าหมาย
- O : ติดตามผลตามกระบวนการ
- R : สรุปเปรียบเทียบผลของการให้บริการก่อนและหลัง
เข้าโปรแกรม 3 เดือน
ผลการศึกษา
ผลการศึกษาระยะที่ 1
ผลการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี บริบท การพัฒนารูปแบบคลินิกเวชศาสตร์วิถีชีวิต ประกอบด้วย SEARN
MODEL, Lifestyle Medicine 6 Pillar, Motivation Interview, ทฤษฎี V-Shape 6 องค์ประกอบ
ผลการทบทวนการจัดบริการคลินิกเวชศาสตร์วิถีชีวิต ในหน่วยบริการเครือข่ายสังกัดกรมอนามัย
พบว่า มีหน่วยเปิดให้บริการคลินิกเวชศาสตร์วิถีชีวิตร้อยละ 84.61 (11 แห่ง) ซึ่งระบบบริการแต่ละเสาหลักจะ
สามารถสรุปขั้นตอนการบริการได้ 5 ขั้นตอน ได้แก่ 1.Screening History & Risk 2. Assessment Diagnosis
& Problem 4. Management 5.Monitoring การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผู้ให้บริการจัดบริการ มีกระบวนการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดบริการจำนวน 19 ครั้ง ผลการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ได้ถอดบทเรียนระบบบริการ ดังนี้
1.รูปแบบการขับเคลื่อนคลินิกเวชศาสตร์วิถีชีวิตตามกระบวนการ SEARN MODEL 2.รูปแบบการตรวจ