Page 385 - Best practice_Oral2024 (อัพเดต)
P. 385
K18
ตารางที่ 2 แสดงผลเปรียบเทียบคะแนนวิถีชีวิต 6 ด้าน ก่อนและหลังเข้าโปรแกรม 3 เดือน (n=27)
ผลการตรวจ ก่อนเข้าโปรแกรม หลังเข้าโปรแกรม P-Value
(n=27) 3 เดือน (n=27)
ด้านอาหาร Nutrition 4.37 + 1.12 5.52 + 1.37 P=0.001
a*
a*
ด้านกิจกรรมทางกาย Physical Activity 5.52 + 1.37 5.63 + 1.92 P=0.011
a
ด้านความเครียด Stress Management 6.81 + 2.68 7.44 + 2.78 P=0.061
a*
ด้านความเสี่ยงสารเสพติด 7.04 + 1.79 9.85 + 0.77 P<0.001
Avoid risky Substance
a*
ด้านการนอนหลับ Sleep 6.37 + 2.22 7.70 + 2.58 P=0.003
a
ด้านความสัมพันธ์ Relationship 9.56 + 1.60 9.70 + 1.06 P=0.161
b*
คะแนนประเมินวิถีชีวิต 39.00 (33.00 to 47.00 (41.00 to 50.00) P<0.001
43.00)
a
หมายเหตุ: ทดสอบด้วย Paired t-test, Wilcoxon Matched pairs Signed Ranks Test,
b
* มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05, แสดง ± sd สำหรับ paired t-test, median (IQR) สำหรับ
1
Wilcoxon Matched pairs Signed Ranks Test
อภิปรายผล จากผลการพัฒนารูปแบบคลินิกเวชศาสตร์วิถีชีวิตทั้ง 3 ระยะ ด้วยทฤษฎี SEARN MODEL,
Lifestyle Medicine 6 Pillar, Motivation Interview, ทฤษฎี V-Shape 6 องค์ประกอบ พบว่า ผู้รับบริการ
ที่ได้รับการดูแลด้วยบริการแบบครอบคลุม 6 เสาหลัก และมีส่วนร่วมโดยการดูแลโดยสหวิชาชีพ
สามารถปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตเพื่อการมีสุขภาพร่างกาย ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติ และสุขภาพจิตใจดีขึ้น
สรุปและข้อเสนอแนะสรุป รูปแบบการให้บริการคลินิกเวชศาสตร์วิถีชีวิต ศูนย์อนามัยที่ 3 สามารถดูแล
ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตในกลุ่มผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังด้วยกระบวนการทางแพทย์ร่วมกับปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 6
เสาหลัก ข้อเสนอแนะ ในการทำการศึกษาครั้งต้อไปควรมีการศึกษาในกลุ่มขนาดตัวอย่างที่ใหญ่ขึ้น
และมีการเปรียบเทียบกลุ่มที่ได้รับการดูแลด้วยโปรแกรมปกติ และกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมปกติร่วมโปรแกรม
คลินิกเวชศาสตร์วิถีชีวิต