Page 598 - Best practice_Oral2024 (อัพเดต)
P. 598

P29


                  7) ใช้ Ligasure จี้และตัดถุงน้ำดีออกทาง Hasson trocar ขนาด 10 มม. และนำ CO2 ออกจากช่องท้อง
                  (ภาพที่ 7) 8) เย็บปิดแผล (ภาพที่ 8)








                                         ภาพที่ 7                   ภาพที่ 8
                         3) ผลลัพธ์การใช้นวัตกรรม ในกลุ่มทดลอง 34 คน (กลุ่มควบคุม 32 คน) ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ

                  เฉลี่ยทั้งสองกลุ่ม 54.27 ปี ระยะเวลาผ่าตัด อัตราการติดเชื้อของแผล ระยะเวลานอนโรงพยาบาลและ
                  ค่าใช้จ่ายทั้งหมดมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01

                  อภิปรายผล
                         สามารถนำเทคนิคผ่าตัดแบบส่องกล้องด้วยเทคนิคการเจาะถุงน้ำดีร่วมกับการใช้ถุงรองรับชิ้นเนื้อ
                  ในผู้ป่วยโรคถุงน้ำดีอักเสบเฉียบพลันอย่างมีประสิทธิภาพ โดยระยะเวลาผ่าตัดเฉลี่ย 32.06 นาที น้อยกว่า

                  เทคนิคปกติ 0.92 เท่า การติดเชื้อของแผลต่ำกว่าเทคนิคปกติ 3.33 เท่า ระยะเวลานอนโรงพยาบาลเฉลี่ย
                  4.41 วัน น้อยกว่าเทคนิคปกติ 1.09 เท่า ค่าใช้จ่ายทั้งหมดต่ำกว่าเทคนิคปกติ 0.89 เท่า

                  สรุปและข้อเสนอแนะ
                         พัฒนาเทคนิคผ่าตัดที่มุ่งผลลัพธ์ด้านผู้ป่วยและอุปกรณ์ที่ใช้งานในองค์กรที่สามารถประยุกต์
                  นำมาประกอบการรักษาผู้ป่วยที่สำคัญในการพัฒนานวัตกรรมครั้งนี้คือ ถุงรองรับชิ้นเนื้อที่ประดิษฐ์ขึ้น

                  จากซองยา ซึ่งไม่จำเป็นต้องซื้ออุปกรณ์เพิ่มเติม เนื่องจากเป็นวัสดุที่มีอยู่ และยังสามารถนำเทคนิคการเจาะ
                  ถุงน้ำดีก่อนทำการตัดถุงน้ำดีในการผ่าตัดส่องกล้องแบบ Three-port  มาบูรณาการเพื่อพัฒนาระบบบริการ
                  การผ่าตัดโรคถุงน้ำดีอักเสบเฉียบพลัน สอดคล้องกับนโยบายพัฒนาระบบบริการ ODS Plus ซึ่งสามารถนำไป
                  ปรับระบบบริการดูแลต่อด้วยระบบ Home Ward ในระยะต่อไปได้เป็นอย่างดี

                  เอกสารอ้างอิง
                  1. ราชวิทยาลัยศัลยแพทย์แห่งประเทศไทย. Gall Stone : แนวทางการรักษาพยาบาลผู้ป่วยทางศัลยกรรม.
                  (ออนไลน์ 2551) (อ้างถึงเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2566) จากhttp://www.rcst.or.th/view.php?group=8&id=204.
                  2. จิรศักดิ์ ปริวัฒนศักดิ์. การศึกษาเปรียบเทียบการผ่าตัดถุงน้ำดีด้วยกล้องวีดีทัศน์โดยวิธีประยุกต์ 2 แผล และ

                  วิธีมาตรฐาน 4 แผล. Srinagarind Medical Journal. Vol.27(1) (ออนไลน์ 2553) (อ้างถึงเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม
                  2566) จากhttp://www.smj.ejnal.com/e-journal/showdetail/?show_detail= T&art_id=1690.
                  3. ศูนย์ข้อมูล โรงพยาบาลกาฬสินธุ์. สถิติผู้ป่วยผ่าตัด. 2564-2566.
                  4.  Tenconi  S.M.  et  al.  Laparoscopic  cholecystectomy  as  day-surgery  procedure:  Current

                  indications and patients' selection. International Journal of Surgery. 2008, Vol.6(1) : S86-S88.
                  5. Erik Nilsson et al. Cholecystectomy: costs and health-related quality of life: a comparison of
                  two techniques. International Journal for Quality in HealthCare. 2004,Vol.16(6), December: 473–
                  482.
   593   594   595   596   597   598   599   600   601   602   603