Page 637 - Best practice_Oral2024 (อัพเดต)
P. 637
Q23
ผลการศึกษา
เปรียบเทียบผลลัพธ์ด้านต่างๆ ก่อนและหลังการปรับรูปแบบการลดภาระงานในการบริหารจัดการ
ความเสี่ยงทางคลินิกและกิจกรรมทบทวนการดูแลผู้ป่วย พบว่าด้านความรู้ความเข้าใจ ก่อนปรับรูปแบบ
(X = 2.95, SD 0.736) และหลังปรับรูปแบบ (X=4.08, SD=0.685); t =15.783, p=0.000 ด้านความมั่นใจ
ก่อนปรับรูปแบบ (X = 2.83, SD 0.676) และหลังปรับรูปแบบ (X=4.07, SD=0.127); t =13.967, p=0.000
และด้านผลลัพธ์ ก่อนปรับรูปแบบ(X = 3.03, SD 0.763) และหลังปรับรูปแบบ (X=4.33, SD=0.654);
t =14.967, p=0.000 โดยสรุปได้ว่าหลังใช้รูปแบบลดภาระงานในการบริหารจัดการความเสี่ยงทางคลินิก
และกิจกรรมทบทวนการดูแลผู้ป่วยทำให้การประเมินการพัฒนาในแต่ละด้านสูงกว่าก่อนปรับใช้รูปแบบ
อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01
ก่อน หลัง
ประเด็น ใช้รูปแบบ ใช้รูปแบบ t p
x̅ SD x̅ SD
ด้านความรู้ความเข้าใจ
1. ระดับความเข้าใจกระบวนการดูแลผู้ป่วยอย่าง 2.89 .708 4.22 .540 13.663 .000
ปลอดภัย
2. สามารถจำแนกระดับความรุนแรง (A-I) ได้ 2.83 .737 4.03 .654 12.428 .000
3. การจำแนกกระบวนการดูแลผู้ป่วยเป็นเรื่องง่าย 3.14 .762 4.00 .862 5.745 .000
รวม 2.95 .736 4.08 .685 15.783 .000
ด้านความมั่นใจ
1.ความมั่นใจในการระบุระดับความรุนแรง (A-I) 2.83 .697 3.97 .560 14.028 .000
2.ความมั่นใจในการจำแนกกระบวนการดูแลผู้ป่วย 2.83 .655 4.17 .507 11.155 .000
รวม 2.83 .676 4.07 .127 13.967 .000
ด้านผลลัพธ์
1.การลดภาระงานในการสรุปทบทวนเคส 2.83 .697 4.17 .833 11.034 .000
2.ความสุขในการทบทวนเคสร่วมกับทีม 2.92 .732 4.19 .668 10.929 .000
3.ได้รับความรู้ตามที่ตนเองสนใจ 3.11 .820 4.42 .554 13.584 .000
4.สามารถนำความรู้ไปใช้ได้ 3.25 .806 4.53 .560 11.625 .000
รวม 3.03 .763 4.33 .654 14.967 .000
รวม 2.94 .599 4.19 .515 16.147 .000
*p < .01
อภิปรายผล
จากผลสรุป ก่อน และหลังใช้รูปแบบลดภาระงานในการบริหารจัดการความเสี่ยงทางคลินิกและ
กิจกรรมทบทวนการดูแลผู้ป่วย มีค่าเฉลี่ยหลังการใช้รูปแบบเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ซึ่งเหตุผลหลัก
ประกอบด้วยภาระงานเอกสารที่มีมาก เป็นอุปสรรคสำคัญของการดูแลผู้ป่วย หากมีรูปแบบกิจกรรมที่สามารถ