Page 137 - Best Practice Poster 2024 (อัพเดต)
P. 137
C12
ผลการดำเนินงาน
รายละเอียด หน่วย ก่อนมี หลังมี
รูปแบบ รูปแบบ
(2565) (2566)
1. อัตราการสวมหมวกนิรภัย ร้อยละ 12 70
2. จำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุรถจักรยานยนต์ ราย 3 1
3. จำนวนผู้พิการ ADLน้อยกว่า 11 คะแนน ราย 4 0
4. อัตรามีจักรยานปลอดภัย (โดยขนส่งและชุมชน) ร้อยละ 57.25 85.48
5. จำนวนอุบัติเหตุถนนนสายปลอดภัย 1 สาย (อัลมู - ตลาด ราย 3 0
พฤหัส)
6. จุดเสี่ยงย่อยได้รับการแก้ไขเบื้องต้น ร้อยละ 0 100
7. จุดเสี่ยงสำคัญมีแผนงานรองรับร่วมกับหน่วยงาน ศปถ. ร้อยละ 0 100
จังหวัด (แขวงการทาง)
8. มีองค์กรต้นแบบสวมหมวกนิรภัย 100% แห่ง 0 8
9. มีโรงเรียนต้นแบบสวมหมวกนิรภัย 100% แห่ง 0 2
10. มีศูนย์เด็กเล็กต้นแบบ 2 ศูนย์ แห่ง 0 2
11. อัตราตัวแทนครัวเรือน สวมหมวกนิรภัย (ข้อมูลสำรวจ ร้อยละ 16.61 77.91
โดย อสม. รับผิดชอบ 1;14 ครัวเรือน)
อภิปรายผล : ปัจจัยความสำเร็จ
1. ด้านนโยบาย จาก ศปถ. จังหวัดให้ความสำคัญ มีกำหนดนโยบาย“คนนครวินัยจราจร 100%”
มีระบบการทำงานที่เชื่อมโยงนโยบายสู่ท้องถิ่น
2. ด้านผู้นำ : ผู้นำระดับสูงเห็นความสำคัญ ตั้งแต่ระดับกระทรวงมหาดไทย ผู้ว่าราชการจังหวัด
ปภ.จังหวัด ขนส่งจังหวัด หัวหน้าส่วนราชการ นายก อบต. กำนัน ฝ่ายปกครอง ผอ.รพสต. ผอ.โรงเรียน เยี่ยม
เสริมพลังทุกเทศกาลและในกิจกรรมสำคัญงานอุบัติเหตุ
3. ด้านทีมปฏิบัติงาน มีความมุ่งมั่น คิดนอกกรอบ ทำงานนอกหน้าที่ ดำเนินงานต่อเนื่องตลอดทั้งปี
ไม่ใช่เฉพาะเทศกาล ระบุชัดเจนทั้งผู้รับผิดชอบ ความถี่การดำเนินงานและมีทีมพี่เลี้ยงที่มีประสบการณ์
สรุปและข้อเสนอแนะ
การดำเนินงานอุบัติเหตุทางถนนเพื่อลดการสูญเสียชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนผู้บริหารทุกระดับ
และทีมภาคีที่เกี่ยวข้องทุกหน่วยงานต้องให้ความสำคัญในการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ จริงจัง
และควรขยายผลการดำเนินงานให้ครอบคลุมทุกตำบลในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช