Page 235 - Best Practice Poster 2024 (อัพเดต)
P. 235

E44


                  กิจกรรมพัฒนา

                         1. ศึกษาปัญหา แนวทางการดูแลผู้ป่วย การคืนข้อมูลเครือข่ายสู่ชุมชน
                         2. ประชุมเพื่อหาแนวทางในพัฒนาการดูแลผู้ป่วยจิตเวชรุนแรงSMI-V: การส่งต่อ การดูแล
                  ประสานงาน

                         3. พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่เครือข่ายสหวิชาชีพในเรื่องการเฝ้าระวัง การช่วยเหลือเบื้องต้นและจำกัดพฤติกรรม
                         4. การส่งต่อข้อมูลระบบ Thai COC และระบบ google map จุดตำแหน่งผู้ป่วยในพื้นที่
                         5. การติดตามเยี่ยมบ้าน การประเมิน เฝ้าระวังอาการกำเริบ สัญญาณเตือน การกลับเป็นซ้ำ
                  หากอาการเปลี่ยนแปลงประสานเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่
                         6. การประสานส่งต่อโรงพยาบาลชัยภูมิ กรณีผู้ป่วยอาการกำเริบซ้ำก่อความรุนแรง

                         7. การส่งต่อหน่วยงานดูแลต่อเนื่องและฟื้นฟูสมรรถภาพ ในจังหวัดชัยภูมิ

                  ผลการดำเนินงาน
                                                          หลังการดำเนินงาน             การพัฒนาระบบและคน
                          ตัวชี้วัด       ก่อนการ    ครั้งที่ 1   ครั้งที่   ครั้งที่ 3   1.ระบบ Fast pass
                                         ดำเนินงาน  มี.ค-มิ.ย.  ก.ค-ต.ค  พ.ย.66-   2.Telepsychiatry และ Line group
                                                       66       66       ก.พ.67    ใน รพช รพสต.
                   1.การส่งต่อผู้ป่วย      ไม่มี       26       43        103      3.ผู้รับผิดชอบงานหลัก ในระดับ
                   Fast pass จาก รพช.(คน)                                          ชุมชน อำเภอและจังหวัด
                   2.Quick win อำเภอเมือง  ไม่มี       14       17        27       4.การส่งข้อมูลThai COCและ Line
                   ชัยภูมิ (คน)                                                    group
                   3.การ Refer back รพช    ไม่มี       6        13        15       5.การให้ความรู้ในการดูแลและ
                   (คน)                                                            แบ่งกลุ่มผู้ป่วยที่มีความเสี่ยง
                   4.การ Re-admit ภายใน    4.2%       3.2%     2.5%      1.2%      6.การส่งต่อหน่วยที่ดูแลต่อเนื่อง
                   28 วัน (ไม่เกินร้อยละ 5)

                  อภิปรายผล
                         การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์พัฒนาระบบบริการผู้ป่วยจิตเวชที่มีความเสี่ยงสูงก่อความรุนแรงและ

                  ลดอัตราการกำเริบหรือการกลับเป็นซ้ำของผู้ป่วยโรคจิตที่มีความเสี่ยงต่อความรุนแรง ผลที่ได้รับมีระบบ
                  การบริการที่ชัดเจน โดยการพัฒนานำผู้ป่วยเข้าสู่ระบบการรักษาได้รวดเร็วด้วยระบบ Fast pass และ Quick win
                  มีจำนวนเพิ่มขึ้นร้อยละ 20-30 ส่งผลให้ผู้ป่วยได้รับความปลอดภัยและลดความเสี่ยงที่จะเกิดอันตราย
                                                                                                           (3)
                  การดูแลรักษาแบบสหวิชาชีพ ดูแลรักษาผู้ป่วยทางระบบ Telepsychiatry ผู้ป่วยใน รพช.และเรือนจำทุกเดือน
                  และลงเยี่ยมผู้ป่วยใน รพ.สต.ทุก 3 เดือน สอดคล้องกับข้อมูล Dashboard-HDC กระทรวงสาธารณสุข  พบว่า
                                                                                                      (4)
                  ก่อนดำเนินการ 49 คนหลังดำเนินการ 858 คน การประสานข้อมูลและติดตามผู้ป่วยทาง Line group ให้
                  คำแนะนำและการส่งยาของผู้ป่วยแก่ รพช.และ รพ.สต. สถานที่บริการให้มีความปลอดภัยและแข็งแรงตาม
                  มาตรฐานรองรับผู้ป่วยได้ 30 เตียง ส่วนการส่งผู้ป่วยกลับไปรักษาต่อเนื่อง (Refer back) ที่โรงพยาบาลชุมชน

                  เดือนละ 5-6 ซึ่งมีเตียงรองรับเพื่อฟื้นฟูสมรรถภาพส่งผลลดความแออัดในหอผู้ป่วยจิตเวช รพ.ชัยภูมิและเพิ่ม
                  ศักยภาพผู้ดูแลในโรงพยาบาลชุมชน การ Re-admit ภายใน 28 วัน ที่หอผู้ป่วยจิตเวชก็พบว่ามีจำนวนลดลง
                  เหลือร้อยละ1-2 ส่วนมากมาจากการขาดยาและใช้สารเสพติดมีอาการทางจิตแต่ไม่เกิดความรุนแรง อธิบายได้
                  ว่าผู้ป่วยได้รับการดูแลต่อเนื่องในชุมชน มีทีมงานในการดูแลเฝ้าระวังและช่วยเหลือก่อนจะเกิดเหตุความรุนแรง

                  แสดงถึงการเตรียมความพร้อมในการดูแลผู้ป่วยในพื้นที่และได้ดำเนินการดังกล่าวทุกอำเภอในจังหวัดชัยภูมิ
                  นอกจากนี้มีสถานรองรับการดูแลต่อเนื่องโดยส่งต่อหน่วยฟื้นฟูสมรรถภาพมีสสถานที่รองรับในจังหวัดชัยภูมิ
   230   231   232   233   234   235   236   237   238   239   240