Page 236 - Best Practice Poster 2024 (อัพเดต)
P. 236
E45
ได้แก่ มินิธัญญารักษ์ โรงพยาบาลคอนสวรรค์,พัฒนาการเคลื่อนที่ 55 อำเภอเกษตรสมบูรณ์และวัดหนองไผ่ล้อม
อำเภอเมืองชัยภูมิเพื่อระบบบริการผู้ป่วยจิตเวชมีคุณภาพ
สรุปสาระสำคัญและข้อเสนอแนะ :
จากการดำเนินงานพบว่าการพัฒนาการดูแลผู้ป่วยจิตเวชรุนแรง SMI-V มีกระบวนการรักษาการเข้าถึง
บริการต้องรวดเร็ว ดูแลรักษาตามมาตรฐานวิชาชีพ ประสานความร่วมมือในการดูแลสหวิชาชีพเพื่อให้เกิด
(1)
ความปลอดภัยและมีคุณภาพ หลังการจำหน่ายได้รับการดูแลต่อเนื่องในชุมชน ผู้ดูแลในพื้นที่ครอบคลุมใน
เรื่องดูแลการกินยา ช่วยเหลือด้านจิตใจ กระตุ้นเตือนไม่ดื่มสุราและใช้ยาเสพติด หางานทำหรือเรียนต่อเพื่อ
คุณภาพชีวิตที่ดี เมื่อพบอาการผิดปกติมีหน่วยงานช่วยเหลือและเข้าถึงง่ายในพื้นที่ การส่งต่อโรงพยาบาลได้
อย่างรวดเร็ว นอกจากนี้การให้ความรู้และการดูแลผู้ป่วยเบื้องต้นแก่ผู้ดูแลและเจ้าหน้าที่ในพื้นที่เป็นสิ่งที่สำคัญ
สามารถประเมินอาการและช่วยเหลือเบื้องต้นสามารถลดก่อความรุนแรงที่จะเกิดขึ้นได้
ข้อเสนอแนะ
1. ควรมีในการสร้างคุณค่าให้แก่ผู้ป่วย เช่น ส่งเสริมให้มีการสร้างอาชีพให้กับผู้ป่วย
2. การดื่มสุราตามประเพณีต่างๆของชุมชน ซึ่งทําให้เกิดอาการกําเริบ ควบคุมอาการได้ยาก จึงควรมี
การนํามาตรการเฝ้าระวัง 2 ย 1ส (ยาดี/ญาติดี/หลีกเลี่ยงสุรา สารเสพติด) ใช้อย่างจริงจัง
3.ควรศึกษาการนําเทคโนโลยี มาใช้ในการเฝ้าระวังผู้ป่วยจิตเวชกลุ่มเสี่ยงต่อพฤติกรรมรุนแรง