Page 251 - Best Practice Poster 2024 (อัพเดต)
P. 251
F9
3. เพื่อศึกษาผลของการพัฒนา“Raman Labour Safety Model” เพื่อป้องกันภาวะคลอดติดไหล่
และการคลอดไหล่หักในทารกแรกเกิด
วิธีการศึกษา
เป็นการวิจัยและพัฒนา (Reseach and development) ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาสถานการณ์ภาวะคลอดติดไหล่
และภาวะคลอดไหล่หักในทารกแรกเกิดในหน่วยงานสูติกรรมโรงพยาบาลรามันตั้งแต่ปี 2558-2562 ขั้นตอนที่ 2
ศึกษารูปแบบ Raman Labour Safety Model เพื่อป้องกันภาวะคลอดติดไหล่และภาวะคลอดไหล่หักในทารก
แรกเกิด โดยพัฒนาภายใต้กรอบแนวคิด NHMRC แบ่งออกเป็น 2 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 การเตรียมการ
ก่อนดำเนินการใช้ โดยกำหนดขอบเขต วัตถุประสงค์ กำหนดผลลัพธ์ ทบทวนหลักฐานเชิงประจักษ์ และยกร่าง
การใช้ ระยะที่ 2 ประเมินผลการใช้งาน โดยส่งเสริมการใช้ ปรับปรุงพัฒนาโปรแกรม และประเมินผลการใช้งาน
ขั้นตอนที่ 3 ศึกษาผลการใช้ด้านผู้รับบริการ และด้านผู้ให้บริการ
ผลการศึกษา
การพัฒนา “Raman Labour Safety Model” เพื่อป้องกันภาวะคลอดติดไหล่และคลอดไหล่หัก
ในทารกแรกเกิด Work Flow “Raman Labour Safety Model”
อัตราการเกิดภาวะคลอดติดไหล่ และคลอดไหล่หักในทารกแรกเกิดก่อนและหลังการใช้
“Raman Labour Safety Model”
ตาราง เปรียบเทียบอัตราการเกิดภาวะคลอดติดไหล่ และคลอดไหล่หักในทารกแรกเกิด
ข้อมูล ระยะ ระยะ
ดำเนินการ ประเมินผล
-จำนวนทารกแรกเกิดเกิดมีชีพ (คน) 364 361
-จำนวนทารกแรกเกิดที่คลอดติดไหล่ (คน) 4 1
-อัตราร้อยละการเกิดภาวะคลอดติดไหล่ในทารกแรกเกิดต่อ1,000 การ 10.99 2.77
เกิดมีชีพ