Page 475 - Best Practice Poster 2024 (อัพเดต)
P. 475

L24


                         เกณฑ์ในการคัดเข้า (Inclusion criteria) มีดังนี้
                         1. เป็นผู้ป่วยทั้ง หญิงและ ชาย ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปี ขึ้นไป มีข้อบ่งชี้ของภาวะอาการปวดเข่า
                         2. ไม่มีโรคหรือข้อห้ามในการพอกเข่า เช่น โรคผิวหนัง มะเร็ง โรคติดต่อ

                         3. สามารถเข้าร่วมและยินยอมเข้าร่วมการศึกษา และ ตอบข้อซักถามได้
                         เกณฑ์ในการคัดออก(Exclusion criteria) มีดังนี้
                         1. เกิดผลข้างเคียงจากการพอกและประคบสมุนไพร เช่น การแพ้สมุนไพร ผื่นแดง คัน เป็นต้น
                         2. ผู้เข้าร่วมวิจัยไม่ยินยอมเข้าร่วมการศึกษา
                         เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย

                         1. คัดเลือกผู้ป่วยเข้าร่วมการวิจัย โดยการคัดกรองสุขภาพผู้ป่วยในชุมชนเดชาพัฒนา ระหว่างเดือน
                  มกราคม พ.ศ.2567 ถึง เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567 ได้กลุ่มตัวย่างจำนวน 24 ราย โดยกลุ่มตัวอย่างจะต้องตรง
                  ตามเกณฑ์การคัดเข้า

                         2. บันทึกข้อมูลผู้ป่วยตามรายละเอียดของแบบสอบถาม โดยจะประเมินผลการใช้นวัตกรรม สายรัด
                  ปวดก็แปะในครั้งที่ 1 และครั้งที่ 4 เป็นระยะเวลา 1 เดือน

                  ผลการศึกษา จากการใช้ นวัตกรรม สายรัดปวด ก็แปะ ได้ผลการศึกษาดัง ตารางนี้

                                              สรุปผลการติดตาม ทั้งหมด 4 ครั้ง N = 24
                            ระดับความปวด         ครั้งที่ 1 (คน)  ครั้งที่ 2 (คน)  ครั้งที่ 3 (คน)   ครั้งที่ 4 (คน)

                              0 - ไม่ปวด              0             0              1             8
                         1-3 ปวดระดับเล็กน้อย         8             20            21             15
                        4-6 ปวดระดับปานกลาง           14            3              1             1

                          7-10 ปวดระดับมาก            2             1              1             0

                  อภิปรายผล
                         นำข้อมูลที่ได้มาประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
                  ได้แก่ การแจกแจงความถี่ (frequency)  ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
                  (Standard Deviation) โดยการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการบรรยายสรุปในตาราง และใช้สถิติ paired samples

                  t-test กำหนดระดับนัยสำคัญที่ (α)  0.05
                  ตารางที่ 1  จำนวนและร้อยละของผู้ป่วยที่มีอาการปวดเข่า และได้ใช้นวัตกรรม สายรัด ปวดก็แปะ

                                   ข้อมูลทั่วไป                      จำนวน (n)                ร้อยละ
                   1. เพศ
                                      ชาย                                12                    50.0
                                      หญิง                               12                    50.0

                   2. อายุ (ปี)    ̅= 61.07   Max =97 Min =60
                                     60-69                               15                    62.5
                                     70-79                               8                    33.33
                                     80-89                               0                     4.17

                                    90 ขึ้นไป                            1

                  จากตารางที่ 1 พบว่า กลุ่มตัวอย่างเป็นเพศชาย 12 คน และ เพศหญิง 12 คน โดยส่วนใหญ่มีอายุอยู่ในช่วง
                  60-69 ปี )   (   ̅= 61.07 Max = 97 Min = 60 )
   470   471   472   473   474   475   476   477   478   479   480