Page 490 - Best Practice Poster 2024 (อัพเดต)
P. 490
L39
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
1) แผ่นแปะน้ำมันหอมระเหยจากดอกปีบ
2) แบบประเมินการเกิด Acute Exacerbation ใช้แบบประเมิน Appendix 2 โดยใช้แบบสอบถาม
ตาม Easy Asthma Guideline
3) แบบสอบถามความพึงพอใจ จำนวน 3 ด้าน ได้แก่ ด้านลักษณะทางกายภาพ ด้านคุณภาพ
และด้านประโยชน์
การวิเคราะห์ข้อมูล
1) วิเคราะห์ลักษณะข้อมูลทั่วไปของผู้เข้าร่วมการศึกษา โดยการแจกแจงความถี่ (Frequency)
หาค่าร้อยละ (Percentage) และนำเสนอรูปแบบความเรียง
2) เปรียบเทียบการเกิด Acute Exacerbation ก่อนและหลังการใช้น้ำมันหอมระเหยดอกปีบ
ของผู้ป่วยโรคหืดโดยใช้สถิติ Paired-Samples-T-Test
3) เปรียบเทียบการใช้ยาพ่นฉุกเฉิน ก่อนและหลังการใช้น้ำมันหอมระเหยดอกปีบของผู้ป่วยโรคหืด
โดยใช้สถิติ Paired-Samples-T-Test
4) วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการตอบแบบสอบถามความพึงพอใจ โดยใช้ค่าเฉลี่ย ( ̅) และส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน (S.D.)
ผลการศึกษา
1) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไป
ผลการวิจัยพบว่า ในจำนวนผู้ป่วยกลุ่มทดลองทั้งหมด 30 คน เป็นหญิง จำนวน 28 คน คิดเป็น
ร้อยละ 9.3 กลุ่มทดลองที่มี ช่วงอายุ 40 - 60 ปี จำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 53.3 โรคประจำตัวส่วนใหญ่
เป็นโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 60
2) ผลเปรียบเทียบการเกิด Acute Exacerbation ก่อนและหลังใช้สุคนธบำบัดด้วยแผ่นแปะน้ำมัน
หอมระเหยดอกปีบเพื่อบรรเทาอาการจับหอบของผู้ป่วยโรคหืด
แผ่นแปะน้ำมันหอม ก่อนการรักษา หลังการรักษา p-
ระเหยดอกปีบ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน t-test value
( ̅) มาตรฐาน(S.D.) ( ̅) มาตรฐาน(S.D.)
คะแนนระดับ
Acute Exacerbation 1.33 1.27 0.73 0.81 6.33 .00*
* p < 0.05 มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95
3) ผลเปรียบเทียบการใช้ยาพ่นฉุกเฉิน ก่อนและหลังใช้สุคนธบำบัดด้วยแผ่นแปะน้ำมันหอมระเหยดอกปีบเพื่อ
บรรเทาอาการจับหอบของผู้ป่วยโรคหืด
แผ่นแปะน้ำมันหอม ก่อนการรักษา หลังการรักษา p-
ระเหยดอกปีบ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน t-test value
( ̅) มาตรฐาน(S.D.) ( ̅) มาตรฐาน(S.D.)
คะแนนระดับ 3.20 0.94 1.73 0.96 6.99 .00*
การใช้ยาพ่น
* p < 0.05 มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95