Page 668 - Best Practice Poster 2024 (อัพเดต)
P. 668

P45





                  ตารางที่1 เปรียบเทียบรูปแบบเดิมและรูปแบบใหม่ที่พัฒนา
                        แนวปฏิบัติ                  รูปแบบเดิม                          รูปแบบใหม่
                   1.แรกรับ             ศัลยกรรมประสาท                      ศัลยกรรมหลอดเลือดสมอง

                                                                            (Hemorrhagic stroke)
                   2.การดูแลรักษา       1.ทีมสหสาขามีส่วนร่วมในการดูแลเมื่อมี 1.CPG/Care map
                                        การปรึกษาจากแพทย์เจ้าของไข้         2.มีพยาบาลจบเฉพาะทางระบบประสาท
                                        2.การพยาบาลขึ้นอยู่กับทักษะและความ วิทยาและศัลยศาสตร์

                                        เชี่ยวชาญเฉพาะบุคคล                 3.แนวปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยศัลยกรรม
                                                                            หลอดลือดสมอง
                   3.ขณะนอนรักษาใน

                   โรงพยาบาล
                   3.1การเฝ้าระวังอาการ ประเมินซ้ำไม่ได้ตามระยะเวลาที่      ประเมินซ้ำตามประเภทผู้ป่วย CPG/Care
                   เปลี่ยนแปลง          เหมาะสม                             map
                   3.2 การป้องกัน       ขาดการกำกับดูแลภาวะแทรกซ้อนอย่าง มีแนวทางปฏิบัติการป้องกันการเกิด

                   ภาวะแทรกซ้อน         ต่อเนื่อง                           VAP/CAUTI/SSI/DVT/Bed sore/
                   4.การเตรียมจำหน่าย  ได้รับสุขศึกษา ความรู้จากพยาบาลที่มี  ได้รับความรู้ครบถ้วนตามหัวข้อกำหนด
                                        ความเชี่ยวชาญและทักษะต่างกัน        มีการประเมินผู้ดูแลทุกรายและมีการฝึก

                                                                            ปฏิบัติตามแผนรายโรค
                   5.การดูแลต่อเนื่อง   ผู้ป่วยที่มีปัญหาซับซ้อนจะได้รับการส่ง  ส่งต่อข้อมูลทุกรายในSmart COCและมี
                                        ต่อข้อมูล                           การติดตามผู้ป่วยหลังจำหน่าย

                         2.ผลลัพธ์การใช้รูปแบบ

                           ข้อมูลทั่วไป
                                2.1  ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้ป่วย กลุ่มก่อนพัฒนารูปแบบและกลุ่มหลังพัฒนา
                  รูปแบบ มีข้อมูลที่คล้ายคลึงกันในด้านเพศ สถานภาพสมรส โรคประจำตัว ค่าเฉลี่ยของอายุ
                                2.2 ความสามรถในการการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันวันก่อนจำหน่ายผู้ป่วยหลังพัฒนารูปแบบ
                  มีค่าเฉลี่ยความสามรถในการการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันมากกว่ากลุ่มพัฒนารูปแบบ

                                 2.3 ภาวะแทรกซ้อน พบว่าก่อนใช้รูปแบบมีการติดเชื้อทางเดินหายใจ 2 ราย คิดเป็น ร้อยละ
                  6.6 การเกิดภาวะ Electrolyte Imbalance จำนวน 2 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 6.3 ส่วนกลุ่มหลังพัฒนารูปแบบไม่
                  พบการเกิดการเกิดภาวะแทรกซ้อน

                                  2.4 วันนอนในโรงพยาบาลและค่ารักษาพยาบาลก่อนพัฒนา มีค่าเฉลี่ยวันนอน15.06(S.D
                  =8.17) หลังพัฒนารูปแบบมีค่าเฉลี่ยวันนอน10.5(S.D =5.63) พบว่ากลุ่มหลังพัฒนารูปแบบมีค่าเฉลี่ยวันนอน
                  ลดลงนอนลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ(p=.028)ส่วนค่ารักษาพยาบาลกลุ่มก่อนพัฒนามีค่าเฉลี่ยการ
                  รักษาพยาบาล 148312.70บาท( S.D=130296.59)ส่วนกลุ่มหลังพัฒนารูปแบบค่าเฉลี่ยการรักษาพยาบาล

                  148312.70บาท ( S.D=66739.00) พบว่าทั้งสองกลุ่มมีค่าเฉลี่ยค่ารักษาพยาบาลไม่แตกต่างกัน ซึ่งจาก
   663   664   665   666   667   668   669   670   671   672   673