Page 16 - คู่มือตำรับอาหารมาตรฐานในโรงพยาบาล (new)
P. 16
7
้
ี้
4) อาหารน้ำข้น (Full liquid diet) สำหรับผู้ป่วยที่ไม่สามารถเคยวอาหารได หรือผู้ป่วยหลัง
ผ่าตัด
้
ลักษณะอาหาร ลักษณะเป็นนำเหลวข้นกว่าอาหารนำใส เพราะมีการบดผักเนื้อสัตว์หรือนม
้
้
้
ี้
้
ผสมลงไปเป็นนำซุปกลืนไดง่าย อาหารนให้พลังงานและสารอาหารสูงกว่าอาหารนำใส ประกอบดวย
้
้
้
เครื่องดื่ม และอาหารนำทุกชนิด รวมทั้ง นำผลไม้ ไอศกรีม นม คัสตาร์ด ซุปต่างๆ
อาหารที่ควรเลี่ยงและควรระวัง หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
่
ิ
มาตรฐานอาหารผู้ป่วยทั่วไป แตละโรงพยาบาลกำหนดมาตรฐานการบรการอาหารไว้แตกต่างกัน
ขึ้นอยู่กับนโยบายการบริการ ตัวอย่างการกำหนดมาตรฐานอาหาร ดังตารางที่ 2.1
ตารางที่ 2.1 มาตรฐานอาหารทั่วไป
อาหาร พลังงาน (kcal) โปรตีน (g) ไขมัน (g) คาร์โบไฮเดรต (g)
ธรรมดา 1,500 - 2,000 54 - 75 50 - 56 225 - 300
(Regular) (12 -15 %) (25 - 30 %) (55 - 60 %)
อ่อน (Soft) 1,500 -1,800 45 - 68 42 - 60 188 - 270
(12 -15 %) (25 - 30 %) (55 - 60 %)
น้ำใส 800 2 ต่ำมาก 198
(Clear Liquid) (1 %) (99 %)
น้ำข้น 600 -1,000 15 - 25 6 -16 113 - 200
(Full Liquid) (10 %) (25 - 30 %) (75 - 80 %)
2.2 ปริมาณสารอาหารอ้างอิงที่ควรได้รับประจำวัน
ปรมาณสารอาหารอ้างอิงที่ควรไดรับประจำวัน (The Dietary Reference Intakes: DRIs) เป็นคา
้
ิ
่
อ้างอิงที่เป็นการคาดคะเนของปริมาณของสารอาหารที่ได้รับประจำวันที่ใช้กำหนดแผนและอาหารสำหรบ
ั
ี
่
ั
ี
ิ
้
คนปกตที่สุขภาพดและควรช่วยให้แตละคนมีสุขภาพดที่สุดในการป้องกันโรคและหลีกเลี่ยงการไดรบ
ิ
้
ื
สารอาหารมากเกินไป การกำหนดคาปรมาณสารอาหารอ้างอิงที่ควรไดรบประจำวัน หรอ Dietary
ั
่
3
Reference Intake (DRI) ซึ่งอาจจะเป็นค่า RDA หรือ AI รวมทั้ง UL
ปรมาณสารอาหารทควรได้รบประจำวัน (Recommended Dietary Allowances: RDAs)
ิ
ี่
ั
้
เป็นคาเฉลี่ยของสารอาหารที่ควรไดรบประจำวัน ซึ่งตรงกับความตองการของสารอาหารของคนที่มี
้
ั
่
สุขภาพดีเกือบทั้งหมด (ร้อยละ 97-98) ของแต่ละเพศ อายุ และวัย หรือภาวะทางสรีรวิทยา
ี่
ค่าประมาณของความต้องการสารอาหารทควรได้รบประจำวัน (Estimated Average
ั
ั
Requirement: EAR) คอ ระดบตำสุดของสารอาหารที่ไดรบตอเนองซึ่งทำให้คงภาวะโภชนาการของ
่
ื
่
ื่
้
ั
บุคคลตามตัวชี้วัดเฉพาะ ซึ่งเพียงพอสำหรับแต่ละบุคคลที่มีสุขภาพด ตามอายุ เพศ และวัย (ร้อยละ 50)
ี
ื
ิ
ปรมาณสารอาหารที่พอเพียงในแต่ละวัน (Adequate Intake: AI) เป็นค่าที่มีพื้นฐานจากการสังเกตหรอ
การหาค่าประมาณการบริโภคสารอาหารของกลุ่มคนที่มีสุขภาพดี และใช้เมื่อไม่สามารถหาค่า RDA ได ้