Page 19 - คู่มือตำรับอาหารมาตรฐานในโรงพยาบาล (new)
P. 19
10
ตารางที่ 2.4 ปริมาณพลังงานที่ควรได้รับประจำวันสำหรับคนไทย
* น้ำหนักอ้างอิงของประชากรไทย
† พลังงานที่ต้องการ คำนวณจากค่าผลคูณระหว่าง Basal Metabolic Rate (BMR) และ Physical
Activity Level (PAL) กิจกรรมเบา แทนด้วยแฟคเตอร์ 1.4 และค่าที่แสดงเป็นค่าที่ได้จากการปัด
ตัวเลขตามหลักเลขนัยสำคัญ
‡ ทารกแรกเกิดถึงก่อนอายุ 6 เดือน
II อายุ 1 ปีถึงก่อนอายุ 4 ปี
2.2.2 คาร์โบไฮเดรต
ิ
ื
์
้
ั
ั
็
ปรมาณของคารโบไฮเดรตอ้างอิงที่ควรไดรบประจำวัน (DRI) สำหรบทุกช่วงวัย คอ เดก
ทุกกลุ่มอายุ ผู้ใหญ่ทั้งชายและหญิง และผู้สูงอายุ คดเป็นรอยละ 45-65 ของพลังงานที่ควรได้รบต่อวัน
้
ิ
ั
ควรเลือกชนิดคาร์โบไฮเดรตที่มาจากข้าว แป้ง หรอธัญพืชที่ไม่ขัดสี เนื่องจากมีใยอาหารช่วยเพิ่มปริมาณ
ื
ื
อาหาร ทำให้ได้รบพลังงานจากอาหารน้อยลง และยังช่วยให้อิ่มนาน ผลไม้มีน้ำตาลหรอคาร์โบไฮเดรต
ั
ั
ั
เป็นส่วนประกอบหลัก ดงนนในการเลือกบริโภคผลไม้ควรเลือกที่มีปริมาณน้ำตาลน้อย (รสไม่หวานจด)
ั้
้
ี
หรือผลไม้ที่มีค่าดัชนนำตาลต่ำ นอกจากการเลือกชนิดของคาร์โบไฮเดรตที่ดีแล้ว ปริมาณคาร์โบไฮเดรตที่
ิ
บรโภคอย่างเหมาะสมก็เป็นเรื่องสำคญ ปรมาณนำตาลที่เตมลงไปในอาหารไม่เกินรอยละ 10 ของ
ิ
้
ิ
้
ั
ื
่
พลังงานที่ควรไดรบตอวัน และควรบรโภคอาหารที่มีใยอาหารให้ได 25 กรมตอวัน หรอ 14 กรมตอ
ั
้
ั
ั
ิ
่
้
5
่
ิ
1,000 กิโลแคลอรี ซึ่งได้จากการบรโภคพืชผัก ผลไม้สด ธัญพืชไม่ขัดสี ถั่วเมล็ดแห้ง ถั่วฝัก และให้เลือก
บริโภคข้าวกล้อง ข้าวซ้อมมือแทนข้าวขาว อย่างน้อย 90 กรัมต่อวัน