Page 20 - คู่มือตำรับอาหารมาตรฐานในโรงพยาบาล (new)
P. 20

11



                                                                      ่
                                                                 ้
                                                  ์
                                  ิ
                                                             ั
                                ปรมาณสูงสุดของคารโบไฮเดรตที่รบไดในแตละวัน ตามข้อมูลที่มียังไม่เพียงพอที่จะใช้เป็น
                                                                  ่
                       ตัวกำหนดปรมาณสูงสุดสำหรับคาร์โบไฮเดรตได้ แตมีข้อกำหนดการบริโภคน้ำตาลสูงสุดที่บริโภคได้ต่อวัน
                                  ิ
                                          ิ
                                                                         ื
                       เท่ากับ 65 กรม เมื่อคดจากพลังงาน 2,000 กิโลแคลอร หรอร้อยละ 13 ของพลังงานที่ควรไดรบตอวัน
                                                                      ี
                                   ั
                                                                                                       ั
                                                                                                         ่
                                                                                                      ้
                                                                                                            6
                       ซึ่งกำหนดไว้ในฉลาก GDA (Guideline daily amount) ของไทย โดยรวมน้ำตาลที่ได้จากธรรมชาติด้วย
                                นำตาลถูกใช้เป็นสารที่เพิ่มความหวานให้แก่ผลิตภัณฑอาหารเพื่อช่วยให้อาหารมีรสชาต ิ
                                 ้
                                                                               ์
                       โดยรวมดีขึ้น เพิ่มความหนืด เพิ่มสี และกลิ่น น้ำตาลยังแบ่งออกเป็น
                                      1) น้ำตาลที่ได้จากธรรมชาติ (intrinsic sugar) เช่น นำตาลในผลไม้สด น้ำตาลในนำนม
                                                                                  ้
                                                                                                          ้
                       (milk sugar)
                                      2. น้ำตาลที่ใช้เติมในอาหารและเครื่องดื่ม (added sugar) หรือกระบวนการผลิตอาหาร
                                                                         ้
                       (extrinsic sugar) ได้แก่ น้ำตาลที่เติมในน้ำอัดลม น้ำผลไม้ นำนมปรุงแต่ง ขนมเค้ก คุกกี้ พาย ขนมหวาน
                                                                               ้
                                                ้
                                                                                                    ิ
                                                           ้
                                                                ้
                                                                                                        ้
                                                                                              ้
                       ลูกอม ช็อกโกแลต ส่วนใหญ่นำตาลที่ใช้ ไดแก่ นำตาลทรายขาว นำตาลทรายแดง นำตาลดบ นำเชื่อม
                                                                                      ้
                                                                                                          ิ
                                                                        ุ
                               ั
                                                        ็
                       คอรนไซรป ไฮฟรุกโตส คอร์นไซรัป เดกซ์โทส กลูโคส ฟรกโตส มอลโตส นำผึ้ง ผลเสียของการบรโภค
                           ์
                                                 ิ
                                                                  ่
                       นำตาลที่ใช้เตมในอาหารในปรมาณมาก จะทำให้รางกายไดรบพลังงานส่วนเกินส่งผลให้มีนำหนกตว
                                                                                                     ้
                                                                           ั
                                   ิ
                        ้
                                                                                                            ั
                                                                                                          ั
                                                                          ้
                       เพิ่มขึ้นเสี่ยงต่อการเกิดโรคอ้วน และโรคไม่ติดต่อ เรื้อรังอื่น ๆ
                           2.2.3 โปรตีน
                                                                 ี
                                  สัดส่วนการกระจายพลังงานของโปรตน คิดเป็นร้อยละ 10-15 ของความตองการพลังงานที่
                                                                                               ้
                       ร่างกายควรได้รับใน 1 วัน ร่างกายจะใช้โปรตีนในการเจริญเติบโต และซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ จะใช้เป็น
                                                                                                   ี
                                                          ี
                                           ่
                       แหล่งพลังงานก็ต่อเมื่อรางกายไดรับโปรตนมากเกินไป อย่างไรก็ตามควรเลือกบริโภคโปรตนจากแหล่ง
                                                   ้
                                                                              ั
                       อาหารโปรตนที่มีไขมันไม่สูง เช่น ปลา เนอสัตว์ไม่ติดมัน ไม่ติดหนง ถั่วเมล็ดแห้ง น้ำนม และผลิตภัณฑ ์
                                 ี
                                                          ื้
                                                                        ิ
                                                       ิ
                                             ี้
                                                                      ั
                                                                                  ิ
                       น้ำนมที่มีไขมันไม่สูง ทั้งนในกรณีที่บรโภคอาหารมังสวิรตควรเลือกชนดโปรตีนที่หลากหลายเพื่อให้ได ้
                       กรดอะมิโนครบถ้วน
                                  การที่จะเลือกค่าปรมาณโปรตีนอ้างอิงที่ควรได้รบประจำวันสำหรับคนไทย ควรที่จะเลือกใช้
                                                 ิ
                                                                         ั
                                                                 7
                       ค่าที่คำนวณจากคาอ้างอิงของ WHO (ค.ศ. 2007)  ซึ่งในกลุ่มเด็กและวัยรุ่นส่วนใหญ่จะมีค่าสูงกว่าค่าที่
                                      ่
                       คำนวณจากคาอ้างอิงของ EFSA (ค.ศ. 2017) เล็กนอย เนองจากประสิทธิผล (bioavailability) ของ
                                                                    ้
                                                                         ื่
                                   ่
                       โปรตนจากอาหารไทยโดยรวมมีคาคอนข้างตำ ดงนนการบรโภคโปรตนปรมาณสูงขึ้นก็นาจะเป็นผลด        ี
                                                                                                  ่
                                                                ั
                                                             ่
                            ี
                                                                                  ี
                                                                                      ิ
                                                                          ิ
                                                                   ั้
                                                    ่
                                                      ่
                       ตารางสรุปปริมาณโปรตีนที่ควรได้รับประจำวันสำหรับคนไทยแสดงในตารางที่  2.5
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25