Page 56 - Best Practice Poster 2024 (อัพเดต)
P. 56

A32






                  อภิปรายผล

                           เนื่องจากการพัฒนางานเป็นการพัฒนาร่วมกับชุมชน จำเป็นต้องมีการเข้าถึงผู้ป่วยและภาคีเครือข่าย
                  ต่างๆ จำนวนมาก การให้ข้อมูลและความร่วมแรงร่วมใจมองในเป้าหมายเดียวกัน ทำให้งานเกิดความสำเร็จ
                  ตามมาผู้ป่วยเกิดความพึงพอใจในการได้รับความรู้ และการตรวจเพิ่มเติม ในส่วนของการใช้เทคโนโลยีและสื่อ

                  ประชาสัมพันธ์ เนื่องจากผู้สูงอายุมีความเสื่อมตามวัยและมีการเกาะกลุ่มอยู่กับกลุ่มผู้สูงอายุด้วยกันการติด
                  สโลแกนสั้นๆ กระชับเข้าใจง่าย ร่วมกับตัวอักษร เบอร์โทร ขอความช่วยเหลือที่ชัดเจนจึงเป็นสิ่งสำคัญ  การใช้
                  งานปัจจุบันขยายไปที่ รพ.สต.ในเขต อำเภออุทุมพรพิสัยทั้งอำเภอโดยการผลักดันร่วมกับเขตบริการสุขภาพที่ 10

                  สรุปและข้อเสนอแนะ
                           การพัฒนารูปแบบและการเฝ้าระวังผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง สามารถช่วยประเมินระดับความเสี่ยงเบื้องต้น

                  และช่วยเพิ่มการรับรู้มีทักษะการจัดการที่ถูกต้องเมื่อมีอาการผิดปกติในภาวะฉุกเฉินเพื่อเฝ้าระวังการเกิด
                  โรคหัวใจ
                           ข้อเสนอแนะ รูปคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการร่วมกับชุมชน ส่งผลให้ผู้สูงอายุได้รับการ
                  Early Detection การตรวจวินิจฉัยโรคหัวใจได้มากขึ้น สามารถช่วยประเมินระดับความเสี่ยงเบื้องต้นและช่วย

                  เพิ่มการรับรู้มีทักษะการจัดการที่ถูกต้องเมื่อมีอาการผิดปกติในภาวะฉุกเฉินเพื่อเฝ้าระวังการเกิดโรคหัวใจ เป็น
                  การสร้างรูปแบบการเฝ้าระวังโรคหัวใจที่มีประสิทธิภาพ ควรมีการขยายผลรูปแบบการดำเนินการในพื้นที่อื่น ๆ
                  ให้ครอบคลุมทั้งอำเภออุทุมพรพิสัย














                  ZX
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61